Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ถุงลมโป่งพอง - Coggle Diagram
ถุงลมโป่งพอง
-
-
การพยาบาล
-
-
-
การพยาบาล
-
2.ฟังการหายใจและเสียงปอดว่ามีเสมหะมากหรือน้อย เพื่อจะได้เคาะให้เสมหะมีการเคลื่อนไหว เพื่อให้เสมหะอกดีขึ้น
- จัดท่าผู้ป่วยนอนตะแคงศีรษะสูง เพื่อให้หายใจได้สะดวกและระบายน้ำลายกับเสมหะในปากไหลออกดีขึ้น
- ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษาเพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้กับร่างกาย
- สอนให้ผู้ป่วยใจหายและไออย่างมีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันไม่ให้เสมหะค้างที่หลอดลม
- ให้ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษาและประเมินผลข้างเคียง
- ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำวันละ 2000-3000 มิลลิลิตร เพื่อให้เสมหะอ่อนตัวช่วยขับออกง่ายขึ้น
-
ผลกระทบ
ด้านร่างกาย ปอดไม่สามารถกลับสู่สภาพปกติได้ ทำให้ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยหอบ หายใจลำบาก รับประทานอาหารน้อยลง
ด้านจิตใจ เกิดภาวะไม่สุขสบายจากอาการเหนื่อยหอบ เสี่ยงต่อการกำเริบ ทำให้สภาพจิตใจไม่ดี มีความกลัว ซึมเศร้า บางรายหงุดหงิด
-
-
พยาธิสภาพ
การหายใจเอาพิษจากควันบุหรี่หรือจากอากาศเป็นพิษเข้า ไปในปอดนานเข้าจะทำให้เกิดการอักเสบของหลอดลมทั้งเล็กและใหญ่อย่างเรื้อรัง ทำให้ผนังหลอดลมหนาขึ้น รูของหลอดลมเล็กแคบลง ต่อมเมือกที่ผนังของหลอดลมจะขับเสมหะเข้ามาในหลอดลมมากขึ้น ทำให้เกิดการอุดกั้นในหลอดลมจึงทำให้หายใจไม่สะดวก เหนื่อยง่าย และไอมีเสมหะเรื้อรัง เมื่อมีถุงลมโป่งพองโดยมีการถูกทำลายของผนังถุงลมร่วมด้วย ก็จะทำให้อากาศที่หายใจเข้าไปตกค้างอยู่ในปอดเพิ่มมากขึ้น และหลอดลมจะแฟบในขณะที่หายใจออกได้ง่ายขึ้น ทำให้เกิดการอุดกั้นของปอดเพิ่มขึ้นด้วย เกิดมีอาการเหนื่อยมากขึ้น
เกิดจากการอักเสบและแตกของเนื้อปอดที่บริเวณถุงลมปอด ทำให้เนื้อปอดมีถุงลมเล็ก ๆ มากมายคล้ายพวงองุ่น และรวมกับถุงลมที่อยู่ติดกันจนกลายเป็นถุงลมขนาดใหญ่ ทำให้มีพื้นผิวในการแลกเปลี่ยนออกซิเจนในปอดลดลงหรือมีอากาศค้างในปอดมากกว่าปกติ