Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20-21 - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20-21
พฤติกรรมนิยม
Bahavioral
แนวคิดหลัก
การมองในลักษณะเป็นกลาง คือ ไม่มีดี ไม่มีเลว การกระทำต่างๆเกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีของการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ประยุกต์
1 กฎแห่งความพร้อม คุณครูเตรียมความพร้อมก่อนสอนเสมอและมีการกระตุ้นนักเรียนโดยมีการเปิดเรื่องนำสู่บทที่จะเรียน
2.กฏแห่งความฝึกหัด หลังจากคุณครูสอนเสร็จคุณครูจะมอบหมายงาน การบ้าน หรือแบบฝึกหัด
3.กฎแห่งความพอใจ คุณครูสอนด้วยบรรยากาศที่สนุก ไม่ทำให้นักเรียนเครียดในการเรียน และมีการนำรางวัลที่นักเรียนต้องการมาล่อเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสนใจยิ่งขึ้น
แนวคิด
เป็นการเลือกตอบสนองของผู้เรียนที่จะกระทำด้วยตนเองไม่มีผู้ใดมากำหนดและเมื่อรู้เเล้วจะเหลือการตอบสนองที่เหมาะสมที่สุดเพียงรูปแบบเดียว
ดจากความสัมพันธ์ต่อเนื่องระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองที่มีการตอบสนองเป็นรูปแบบต่างๆ จนค้นพบวิธีที่ดีที่สุด เรียกว่า การลองผิดลองถูก มี 3 กฎ
1 กฎแห่งความพร้อม
2.กฏแห่งความฝึกหัด
3.กฎแห่งความพอใจ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติของพาฟลอฟและวัตสั
แนวคิด
เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการเรียนรู้จริง โดยใช้สิ่งเร้า 2 สิ่งคู่กัน คือ สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขและสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไข โดยถ้าเกิดการเรียนรู้จริง จะมีการตอบสนองไม่ว่าตัดสิ่งใดออก
ประยุกต์
สมมติครูสอนคณิตศาสตร์ก็นำเกมหรือสิ่งที่ลักษระคล้ายยๆเกมมามีส่วนร่วมในชั้นเพื่อเพื่อให้นักเรียนรู้สึกสนุกในการเรียนรู้เป็นระยะๆ เพื่อดึงดูดในการเรียนรู้ของเด็ก
พุทธินิยม
แนวคิด
เน้นองค์ประกอบด้านการสร้างความคิดมากกว่า องค์ประกอบด้านพฤติกรรม
ในการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นผู้กระทำ และสร้างความรู้ด้วยตนเอง อาศัยประสบการณ์การเดิมมาช่วยในการเรียนรู้ครั้งใหม่ และสามารถนำความรู้ที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์และใช้ในการแก้ไขปัญหาได้
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์
ประยุกต์
ในการสอนแต่ละครั้งผู้สอนควรบอกภาพรวมของบทเรียนนั้นก่อน จากนั้นจึงสอนรายละเอียดย่อยๆในบทเรียนนั้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการรับรู้เป็นส่วนรวม แล้วจึงแยกสอนออกมาสอน และยังทำให้ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับความรู้ ความเข้าใจของตนเองได้
แนวคิด
ส่วนรวมมากกว่าผลรวมของส่วนย่อย
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มเกสตัลท์
แนวคิด
การเรียนรู้ที่เกิดจากการจัดประสบการณ์ทั้งหลายที่กระจัดกระจายให้มารวมกันเสียก่อนแล้วจึงพิจารณาส่วนย่อยๆต่อไป
ประยุกต์
ในการสอนแต่ละครั้งผู้สอนควรบอกภาพรวมของบทเรียนนั้นก่อน จากนั้นจึงสอนรายละเอียดย่อยๆในบทเรียนนั้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการรับรู้เป็นส่วนรวม แล้วจึงแยกสอนออกมาสอน และยังทำให้ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับความรู้ ความเข้าใจของตนเองได้
สังคมเชิงพุทธิปัญญา
แนวคิดหลัก
อธิบายกระบวนการที่ทำให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม จากการสังเกตพฤติกรรมหรือการเลียนแบบ ซึ่งมีปฎิสัมพันธ์ด้วย
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีของบันดูรา
แนวคิด
การเรียนรู้ของคนส่วนใหญ่ มาจากการสังเกตหรือการเลียนแบบ
ประยุกต์
ครูแสดงกิริยามารยาทที่เหมาะสม
ครูช่วยเสริมทางนักเรียน ได้โดย ให้ผู้เรียนกำหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ หรือพูดชมเชย
ครูมาสอนตรงต่อเวลาทุกครั้ง
มนุษย์นิยม
Humanism
แนวคิดหลัก
การจูงใจเกิดจากพลังผลักดันภายในตัวบุคคล กระตุ้นอย่างต่อเนื่อง
ให้ความสำคัญกับผู้เรียน ควรได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ตามศักยภาพของแต่ละคน
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
แนวคิด
ความต้องการของบุคคลเรียงเป็นลำดับขั้นตามความสำคัญ เมื่อได้รับความต้องการพื้นฐานแล้ว บุคคลนั้นจะให้ความสนใจ และต้องการในระดับที่สูงขึ้นเรื่อยๆ
ประยุกต์
ครูให้ความเอาใจใส่ผู้เรียน ให้คำชมเชย และไม่ดุหรือทำร้ายให้นักเรียนรู้สึกไม่ดี และชี้แนะแนวทางที่ถูกต้อง
ทฤษฎีการเรียนรู้ของโรเจอร์
แนวคิด
ผู้เรียนลงมือทำด้วยตนเอง มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น
ประยุกต์
ช่วยจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ลงมือคิดและปฏิบัติ
ทฤษฎีปัจจุบัน
คือ
การเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่คนเรามีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม หรือจากการฝึกหัดรวมทั้งการเปลี่ยนปริมาณความรู้ของผู้เรียน งานที่สำคัญของครูก็คือช่วยนักเรียนแต่ละคนให้เกิดการเรียนรู้ หรือมีความรู้และทักษะตามที่หลักสูตรได้วางไว้ ครูมีหน้าที่จัดประการณ์ในห้องเรียน เพื่อจะช่วยให้นักเรียนเปลี่ยนพฤติกรรมตามวัตถุประสงค์ของแต่ละบทเรียน นักจิตวิทยาได้พยายามทำการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทั้งสัตว์และมนุษย์ และได้ค้นพบหลักการที่ใช้ประยุกต์ เพื่อการเรียนรู้ในโรงเรียนได้ ทฤษฎีของการเรียนรู้มีหลายทฤษฎีแต่จะขอนำมากล่าวเพียง 3 ทฤษฎี
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ Cooperative Learning Theory
ประยุกต์
ครูมอบหมายชิ้นงานกลุ่มให้กับนักเรียนในห้องให้ร่วมมือกันทำ
แนวคิด
เป็นวิธีการ จัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่ง ที่เน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานเป็นกลุ่มย่อย โดยมีสมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถที่แตกต่างกัน เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพการเรียนรู้ของแต่ละคน สนับสนุนให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จนบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้
ทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligence)
ประยุกต์
จัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถในด้านที่ตนเองถนัด
แนวคิด
มาจาก ศาสตราจารย์โฮวาร์ต การ์ดเนอร์ บอกว่า ความฉลาดของผู้เรียนมีหลายด้านที่มีความสำคัญเท่าเทียมกัน ขึ้นอยู่กับว่าจะโดดเด่นด้านไหนบ้าง ซึ่งผู้เรียนแต่ละคนจะมีความถนัด หรือศักยภาพของตนเองแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ความฉลาด 8 ด้านตามพหุปัญหา
8.ความฉลาดด้านรู้จักธรรมชาติ ความสามารถในการรู้จัก และเข้าใจธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง
7.ความฉลาดด้านเข้าใจตนเอง ความสามารถในการรู้จัก และตระหนักรู้ในตนเอง
6.ความฉลาดด้านมนุษย์สัมพันธ์ ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น
5.ความฉลาดด้านมิติสัมพันธ์ ความสามารถในการรับรู้ทางสายตาได้ดี มองเห็นพื้นที่ รูปทรง ระยะทาง และตำแหน่งอยากเชื่อมโยงกันได้
4.ความฉลาดด้านร่างกาย ความสามารถในการควบคุมและแสดงออกซึ่งความคิด ความรู้สึก โดยใช้อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย
1.ความฉลาดด้านภาษา ความสามารถในการใช้ภาษารูปแบบต่างๆ เช่น มีความถนัดในภาษาสามารถเรียนรู้คำศัพท์ได้อย่างรวดเร็ว
3.ความฉลาดด้านดนตรี ความสามารถในการซึมซับ และเข้าถึงสุนทรียะทางดนตรี
2.ความฉลาดด้านตรรกะและคณิตศาสตร์ ความสามารถในการคิดแบบมีเหตุและผลการคิดเชิงนามธรรม
ทฤษฎีสรรคนิยม(Constructivism)
ประยุกต์
การสร้างสถานการณ์มาและให้ช่วยแก้ปัญหาร่วมกันภายในกลุ่ม
แนวคิด
นำแนวคิดมาจาก เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น และแนวคิดของ วีก็อตสกี(Vygotsky) เชื่อว่าผู้เรียนสร้างความรู้โดยผ่านการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น ทั้ง 2 แนวคิดสรุปได้ว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เชื่อมโยงกับความรู้เดิม หรือหลายด้าน ควบคู่ไปกับการแลกเปลี่ยน มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นจนได้ความรู้ใหม่