Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้ - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้
ปัญญานิยม
การเรียนรู้เป็นผลของกระบวนการคิด
มุ่งเน้นพฤติกรรมที่อยู่ภายใน
เน้นการรู้ การเข้าใจ
แนวคิด
เป็นการเรียนรู้แบบจัดหมวดหมู่
เน้นการประมวลผล
สามารถนำความรู้กลับมาใช้ใหม่ได้
ทฤษฎี
Piaget
เน้นความเข้าใจเป็นสำคัญและเข้าใจในการพัฒนาความรู้ให้กับผู้เรียน
Bruner
ครูเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาความรู้ให้กับผู้เรียน
Ausubel
ผู้เรียนต้องมีความกระตือรือร้น รับคำอธิบายจากครูผู้สอน
ประมวลสารสนเทศ
การบันทึก ประมวลความรู้และนำกลับมาใช้
ประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการเรียนการสอน
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระให้มาก เพื่อช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน
วิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระการเรียนรู้ให้เหมาะสม
จัดหลักสูตรแบบเกลียว คือ จัดเนื้อหาความคิดรวบยอดและวิธีสอน ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการของผู้เรียน
สร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนเป็นสิ่งจำเป็นในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
สอนความคิดรวบยอดให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจำเป็น
พฤติกรรมนิยม
แนวคิด
เชื่อว่าการเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นและสิ่งแวดล้อมเป็นตัวกำหนดพฤติกรรม
พฤติกรรมทุกอย่างที่เกิดโดยการเรียนรู้และสามารถสังเกตได้
แรงเสริมช่วยทำให้พฤติกรรมเกิดขึ้นได้
ทฤษฎีเชื่อมโยงของธอร์นไดร์
บุคคลจะมีการลองผิดลองถูก รับเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะพบรูปแบบการตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึงพอใจมากที่สุด
ประยุกต์ใช้ทฤษฎีของธอร์นไดค์ในการเรียนการสอน
ในการสอน การให้การเสริมแรงหลังการตอบสนองที่เหมาะสมของเด็ก
ควรใช้วิธีการงดการเสริมแรงเมื่อผู้เรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
ปลูกฝังนิสัยให้แก่ผู้เรียน ควรแยกแยะขั้นตอนของปฏิกิริยาตอบสนองออกเป็นลำดับขั้น โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน และจึงพิจารณาแรงเสริมที่จะให้แก่ผู้เรียน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
แบบคลาสสิคของพาฟลอฟ
กฎการเรียนรู้
การลบพฤติกรรม
กฎแห่งการคืนกลับ
การจำแนก
กฎความคล้ายคลึงกัน
แบบการกระทำของสกินเนอร์
เสริมแรง บวก-ลบ / ลงโทษบวก-ลบ
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีของพาฟลอฟกับสกินเนอร์ ในด้านการเรียนการสอน
สรุปความเหมือนและความแตกต่าง
การวางเงื่อนไข ผู้สอนสามารถทำให้ผู้เรียนรู้สึกชอบหรือไม่ชอบเนื้อหาที่เรียนหรือสิ่งแวดล้อมในการเรียน
การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัวผู้สอน เราอาจช่วยได้โดยป้องกันไม่ให้ผู้สอนทำโทษเขา
กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา
มนุษย์เราต้องสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านทางประสบการณ์เหล่านี้จะกระตุ้นให้ผู้เรียน สร้างโครงสร้างทางปัญญา
กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม
สังคมและวัฒนธรรมจะเป็นเครื่องมือทางปัญญาที่จำเป็นสำหรับการพัฒนารูปแบบและคุณภาพของปัญญา
ประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการเรียนการสอน
พยายามกระตุ้นให้นักเรียนระลึกถึงประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้อง
ร่วมมือกันแก้ปัญหา
แนวคิด
การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงอย่างมีความหมายเกี่ยวกับความรู้ที่สร้างขึ้น