Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Respiratory distress - Coggle Diagram
Respiratory distress
Problem List
TTNB
-
-
-
-
การรักษาที่กี่ยวข้อง
-
try wean O2 box < 5LPM , keep spO2 >= 95%
-
-
-
ภาวะหายใจเร็วชั่วคราวในทารกแรกเกิด ที่ปรากฏภายในหลังคลอดทันทีหรือภายใน 6 ชั่วโมง หลังคลอด เกิดจากมีน้ำเหลืออยู่ในปอดมากกว่าปกติ
มาจากการที่ทารกไม่สามารถขับน้ำที่อยู่ภายในปอดออกมาได้หมด ทำให้การหายใจในระยะแรกเกิดไม่มีประสิทธิภาพ ขณะอยู่ในครรภ์มารดาทารกไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดเพราะปอดเต็มไปด้วยน้ำ แต่เมื่อเข้าสู่ระยะคลอดทารกจะมีการเตรียมเพื่อการหายใจครั้งแรกผ่านกระบวนการดูดซึมน้ำในปอดกลับเข้าสู่ระบบน้ำเหลืองและระบบไหลเวียนเลือด โดยในระยะ 2-3 สัปดาห์ก่อนถึงกำหนดคลอดจะมีการหลั่งสาร catecholamines เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ epinephrine และ isoproterenol ซึ่งสารเหล่านี้มีบทบาทในการกระตุ้นให้มีการดูดกลับสารน้ำในปอดผ่านทางเยื่อบุผิวทางเดินหายใจ ทำให้ปอดของทารกมีพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซและพร้อมสำหรับการหายใจเมื่อแรกคลอดและเมื่อเข้าสู่ระยะคลอดทารกเคลื่อนเข้าสู่ช่องทางคลอดของมารดา ทรวงอกของทารกจะถูกบีบ (vaginal squeeze) ทำให้มีการคายน้ำออกจากปอด เป็นการเตรียมพร้อมสำหรับการหายใจครั้งแรก เมื่อแรกคลอดทารกจะมีภาวะออกซิเจนในเลือดลดลงทำให้เลือดมีสภาพเป็นกรดเล็กน้อย ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้ทารกมีการหายใจครั้งแรกเกิดขึ้น แต่หากกระบวนการขจัดน้ำออกจากปอดของทารกถูกรบกวน หรือเกิดการคลอดโดยที่ยังไม่มีกระบวนการคลอดเกิดขึ้น ทำให้น้ำคงเหลืออยู่ในปอดทารก ส่งผลทารกหายใจไม่มีประสิทธิภาพเกิดภาวะหายใจเร็วชั่วคราวในระยะแรกเกิดได้
-
อาการและอาการแสดง
- อาหารหายใจเร็ว (tachypnea) มีอัตราการหายใจมากกว่า 60 ครั้ง/นาที (อัตราการหายใจปกติในทารกแรกเกิด คือ 40-60 ครั้ง/นาที) และอาจพบความผิดปกติอื่นๆของการหายใจร่วมด้วย เช่น
- หายใจออกเสียงดัง (expiratory grunting)
- ปีกจมูกบาน (nasal flaring)
- อกบุ๋ม (retraction) เมื่อตรวจเอ็กซ์เรย์ปอดจะพบว่ามีน้ำในปอดและเยื่อหุ้มปอด
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจภาพรังสีปอด ในระยะอาการเริ่มแรกเป็นช่วงที่ถุงลมมีน้ำอยู่มาก จะเห็นเป็นฝ้าขาวหรือจุดเล็กๆกระจายทั่วไปในปอด ปอดมีปริมาตรเพิ่มขึ้น(hyperaction)โดยพบกระบังลมซีกขวาอยู่ต่ำกว่าซี่โครงซี่ที่ 8 และเส้นผ่าศูนย์กลางหน้าหลัง (A-P diameter) ของทรวงอกเพิ่มขึ้น เห็นแท่งอากาศในทางเดินหายใจ
(air bronchogram) หลอดเลือดที่ขั้วปอดเด่นชัดขึ้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การวิเคราะห์การกำซาบในเลือด พบภาวะกรดจากการหายใจ(respiratory acidosis)คาร์บอนไดออกไซด์และเลือดขาดออกซิเจน
การพยาบาล
ให้การดูแลทั่วๆไปแบบประคับประคอง เช่นการควบคุมอุณหภูมิโดยการนำเข้าตู้อบ ถ้าอัตราการหายใจมากกว่า 60 ครั้ง/นาที และมีอาการเขียวร่วมด้วยควรให้ออกซิเจนที่มีความชื้นเหมาะสม ในระยะที่มีหอบเหนื่อยมากควรงดอาหารทางปาก ให้สารน้ำทดแทนทางหลอดเลือดดำ เมื่ออาการดีขึ้นจึ่งเริ่มให้นมทางสายยาง
-
เฝ้าระวังภาวะตัวหลือง
18/1/64 : Hct = 51% , MB 10.3 mg%
19/1/64 : Hct 52% , MB 11.3 mg%
-
ทารกที่อยู่ในครรภ์มารดาจะมีจำนวนของเม็ดเลือดแดงมากกว่าและมีอายุสั้นกว่าของผู้ใหญ่เพราะทำหน้าที่รับออกซิเจนผ่านทางสายรกที่ส่งผ่านมาจากเลือดของแม่เมื่อทารกคลอดจากครรภ์ของแม่จะเริ่มหายใจด้วยปอด เม็ดเลือดแดงชนิดเดิมของทารกจะแตกสลายและเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารบิลิรูบินมากกว่าปกติจนเกินกว่าความสามารถในการกำจัดของร่างกายเพราะตับของทารกยังทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพส่งผลให้การกำจัดบิลิรูบินด้วยตับยังไม่สมบูรณ์ทารกจึงเกิดภาวะตัวเหลืองจากการสะสมของสีบิลิรูบิน ทารกที่มีภาวะตัวเหลืองปกติจะสามารถหายเองได้ในเวลาประมาณ 2 สัปดาห์และไม่ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทางสมองของทารก ทารกมีเม็ดเลือดแดงจำนวนมากกว่าปกติ โดยเฉพาะทารกที่คลอดจากมารดาที่เป็นเบาหวาน
การรักษา
เจาะ Hct, MB if >= 13 onphototherapy level 2
-
-
-
-
ข้อมูลผู้ป่วย
Maternal History
- ANC เมื่อ 6 wks 3 วัน
- ANC 9 ครั้ง G1P001 ( ปี 2547 คลอด NL เพศชาย น้ำหนัก 3,500 g )
- ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
- ได้รับ dT 2 เข็ม
- เมื่อ 17 wks 6 วัน by U/S เจาะน้ำคร่ำ = 46+XX
- 10 wks 3 วัน by date ทำ U/S ได้ 85 wks by U/S จึงเชื่อ U/S
- 30 พ.ย. 63 VDRL = Neg , Hb = 11.6 mg% , Hct = 37 % , Anti – HIV = Neg , HBsAg + Neg
- BS 50 gm = 171 , OGTT = 93,169,108,72 :red_flag:
- 1 มิ.ย.63 MCV=88.8 , DCIP = Neg , Covid rapid test = Neg
LABOR
- GA 37 wks 3 วัน by U/S
- Spontaneous membrane ruptured 2.30 am 16 ธ.ค. 63 clear
- Progression of labor normal
- Medication During Labor RLS 1,000 cc IV drip at 4.00 am. , 5% D/W/2 1,000 cc IV drip at 6.30 am.
- Type of delivery Vaccum เพราะ fetal distress
- Episiotomy : RML
- Placentar delivered by traction at 11.34 am. ,Wt. : 540 gm. Normal
- No postpartrum haemorrhage
- ได้รับ syntocinon 10 U IM , Methergin 1 amp IV , BP : 101/67 mmHg
- ระยะเวลาในการคลอดทั้งหมด 9 ชม. 4 นาที
NEWBORN
- 11.30 น. 16 ม.ค. 64 เพศหญิง นน. 2,575 g. , ยาว 51 cm
- Anomalies :No
- Problem at birth : cord พันคอ 1 รอบ
- Resuscitation : Needed O2 tank
- No urine
- Cord blood to lab
- Apgar score total : 8,10,10
-
-
Lab
16/1/63
(12.40 น.) Hct 54% , DTX 99%
-
-
-
-
CBC (16/1/64)
- Hemoglobin (Hb) 16.9 g/dL (12.3-15.5) :red_flag:
- Hematocrit (Hct) 52.6 % (36.8-36.6) :red_flag:
- RBC 5.00 10^6/uL (3.96-5.29)
- MCV 105.2 fL (79.9 – 97.6) :red_flag:
- MCH 33.9 pg (25.9 – 32.4 ) :red_flag:
- MCHC 32.2 g/dL (31.5 – 34.5 )
- RDW 13.6 % (11.9 – 16.5)
- WBC 24.40 10^3/uL (4.24 – 10.18) :red_flag:
- NRBC 1 /100 WBC
- Corrected WBC 24.23 10^3/uL
- Neutrophil 67.3 % (48.1 – 71.2)
- Lymphocyte 25.0 % (21.1 – 42.7)
- Monocyte 6.4 % (3.3 – 10.2 )
- Eosinophil 1.1 % (0.4 – 7.2)
- Basophil 0.2 % (0.1 – 1.2)
- Platelet Count 345 10^3/uL (152 – 387)
- MPV 9.3 fL (7.5 – 11.9)