Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล, บทที่-292-การตรวจแร่ธาตุและสารละลา…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ที่มีภาวะเสียสมดุล
สารน้า (fluid)
สารน้า (fluid) ในร่างกาย หมายถึง น้าและ สารประกอบ ท่ีละลายอยู่ในน้ำ ได้แก่ อิเลคโทรลัยท์
ทังประจุบวกและลบ รวมถึงโปรตีน กลูโคลและไขมัน น้ำเป็นส่วนประกอบหลักของสารน้าในร่างกาย
หน้าท่ีของสารน้าในร่างกาย
1.ช่วยในการควบคมุอณุหภูมิของร่างกาย
เป็นให้ความชุ่มชื้น เนื้อเยื่อ ของร่างกาย เช่น ปาก ตาจมูก
3.หล่อลื่นข้อและป้องกนัอวยัวะภายใน
4.ป้องกันภาวะท้องผูกและช่วยขบัของเสียผ่านทางไต
5.ละลายเกลือแร่และสารอาหาร
น้าอาหารและออกซิเจนไปสู่ร่างกายและเนือเยื้อ
น้ำในร่างกาย
น้าภายนอกเซลล์ มีประมาณ 40 % ได้แก่ น้าที่ อยู่ในชอ่งว่างระหว่างเซลล์ในหลอดเลือด
น้ำภายในเซลล์มีประมาณ 60%
ในร่างกายของเรามีน้าเป็นองคป์ ระกอบประมาณ 60%ของน้าหนัก ตัวโดยปริมาณจะมากหรือน้อย ขึนอยู่ กับ อายุ เพศ ปริมาณไขมัน
กลไกปกติของสมดุลน้ำ
กลไกการระเหยของน้ำ
เป็นกลไกการควบคุมของสมองใหญ่ (Cerebrum) เมื่อร่างกายสูญเสียน้ำ ร้อยละ 1-2 ของน้าในร่างกายทั้งหมด (เครียด เจ็บปวด ยาบางชนิด เช่น มอร์ฟีน) จะเพิ่มออสโมลาลิตี (อนุภาคทังหมดที่ ละลายอยู่ในสารละลาย 1 ลิตร)ของน้ำนอกเซลล์ ทำให้เซลล์ขาดน้ำเล็กน้อย นิวรอน (Neuron) ในไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ซึ่งเป็นศูนย์ กระหายน้ำจะตอบสนองต่อการขาดน้ำ
กลไกปกติของสมดุลน้ำ
การควบคุมโดยฮอร์โมน
Antidiuretic hormone (ADH) ถูกสร้างจากต่อมใต้ สมองส่วนหลังเมื่อมีการกระตุ้นศูนย์กระหายน้ำก็จะมีการ กระตุ้นการหลัง ADH เช่นกัน โดย ADH ทำหน้าท่ี ส่งเสริมการดูดน้ำกลับท่ีท่อไตส่วนปลาย (Distal tubules) และท่อรวม (Collecting duct) ท้าให้จำนวนปัสสาวะ ลดลง ความเข้มข้นของปัสสาวะเพิ่มขึ้น และปริมาตรของน้ำ นอกเซลล์เพิ่มขึ้น
ภาวะไม่สมดลุของสารน้ำ (fluidhomeostasis)
ความผิดปกติขององค์ประกอบหรือปริมาตรของน้ำ 2. ความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการไหลเวียนของน้ำไม่สมดุลและอิเล็กโทรไลต์ที่สำคัญการสูญเสียความสมดุลปริมาณและความเข้มข้นเช่นการขาดน้ำบวมความไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์เช่นสมดุล Na - Kความไม่สมดุลของสภาวะกรด - ด่าง
ภาวะขาดน้ำ
สาเหตุ
1.primary dehydration จะเกิดจากการได้รับไม่พอไม่ว่าจะเกิดจากการดื่มเองไม่ได้หรือไม่มีนชาหรือเกิดการพองลมหมดสติ 2.secondary dehydration เกิดจากการเสียนบ้าที่มีการเสียอิเลคโทรเรียกด้วยโดยเฉพาะการสูญเสียดังเช่นการเกิดการสร้างท้องร่วงหรือมีการขับออกมาก
(hypervolemia)
เป็น ภาวะที่มีน้ำในร่างกายมากกว่า 60%ของน้ำหนักตัว ECF มากกว่าปกติ จะมีอาการบวม
(edema)
สาเหตุ เกิดจาก
การได้รับเกลือและน้ำมาก เกินไป ,ได้รับยา corticosteroid, มีการอุดกั นของทางเดินปัสสาวะ,มีการหลั่งADHมากกว่าปกติ,ผู้ป่วยที่มี ภาวะขาดโซเดียม
อาการ ที่เกิดขึ้น
1pulmonary edema จะมีอาการหอบ หายใจล้าบาก ไอมาก,2congestive heart failure,3neck vein engorged 4 น้ำหนักเพิ่มมากขึ้น อาจมีอาการชัก 5.บวมตามปลายมือปลายเท้า 6.ความดัน โลหิตเพิ่มขึ้
การพยาบาลในผู้ป่วยภาวะน้ำเกิดhypervolemia
ประเมินความรู้สึกตัว อาการบวม ภาวะน้ำเกิน
บันทึกสัญญาณชีพ น้ำหนักตัว
ดูแลจำกัดน้ำและเกลือ
ดูแลให้ยาขับปัสสาวะ
บันทึกปริมาณน้ำเข้าออก (I/O)
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ (LAB)
ภาวะบวม (edema)
สาเหตุ
-แรงดันเพิ่มเลือดคั่งในผู้ป่วย CHF -ภาวะ Alb ในเลือดต่้า -ภาวะ nephrotic syndrome เกิดจากไตผิดปกติ -มีการคั่งของโซเดียม สูญเสีย vascular permeability -เกิด การอุดตันของระบบทางเดินน้ำเหลือง (lymphatic
obstruction)
อาการ
-น้ำหนักขึ้น ร้อยละ 5-มีอาการบวม ผิวหนังอุ่น ชื้น แดง -ชีพจรแรง หายใจล้าบาก หายใจเร็ว หอบเหนื่อย -หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง (neck vein engorgement) -กระสับกระส่าย สับสน ตะคริว ชัก หมดสติ คลื่นไส้อาเจียน
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะบวม
ประเมินระดับความรู้สึกตัว
ประเมินอาการบวม สังเกตอาการของภาวะน ้าเกิน
จัดท่านอนศีรษะสูง semi-fowler’s position
จำกัดน้ำดื่ม จำกัดอาหารเค็ม
บันทึกสัญญาณชีพ, ชั่งน้ำหนัก, I/O
ดูแลให้hypertonic saline ตามแผนการรักษา
เพื่อปรับ plasma osmolality ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ (hyponatremia)
สาเหตุ
ร่างกายได้รับ Na จากอาหารน้อยไป มีการดูดซึมไม่ดี ได้รับยาขับปัสสาวะเป็นเวลานาน สูญเสียทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน ท้องร่วง NG tube with suction , NG content การที่มีเหงื่อ ออกมากเกิน ออกก้าลังกาย หรืออยู่ในที่อากาศร้อน อาการทางระบบประสาท โรคจิต ซึมเศร้า
อาการ
1.1 รุนแรงเล็กน้อย อ่อนเพลีย ความดันเลือดปกติ
1.2 รุนแรงปานกลางรู้สึกตัวดี กระหายน ้า ถ้าดื่มมากจะเป็นตะคริว อาเจียน
1.3 รุนแรงมากกล้ามเนื อกระตุก สั่น เพ้อกระสับกระส่าย ต่อมาไม่รู้สึกตัวSystolic Bp < 90 mm.Hg
การรักษา
1 หากร่างกายมีการขาดNaน้อยและมีการ
ขาดน้ำมาก จะต้องให้ Normal saline และอาหารที่มีโซเดียมสูง 2.หากเกิดภาวะน้ำเกินมากและขาดNaมาก จะต้องมีการให้ Na ทดแทน และยาขับ
ปัสสาวะ (Furosemide)
หลักการพยาบาล
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมต่ำ(hyponatremia)
-หาสาเหตุและแก้ไข
ให้โซเดียมทดแทนและป้องกันภาวะ shock -ป้องกันภาวะโซเดียมต่ำ
-ประเมินระดับความรู้สึกตัว ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ -ช่วยเหลือในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ
-ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเพื่อลดความวิตกกังวล -ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะที่ร่างกายมีระดับของโซเดียมเกิน
(hypernatremia)
สาเหตุ
ได้รับเกลือเพิ่มขึ้น เช่น ได้รับสารน้ำ
ทางหลอดเลือดดำไตวาย หัวใจล้มเหลว 2. ได้รับน้ำน้อยหรือสูญเสียน้ำมาก เช่น
มีไข้ ไฟลวกรุนแรง สูญเสียน้ำจากปอด มีท่อระบายจากแผลหรือจากร่างกาย
อาการทั่วไป
-มีไข้ต่ำๆ กระหายน้ำมาก
-ผิวหนัง ผิวแดง หน้าแดง บวม ปากแห้ง ลิ้นบวมแดง
-ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นเร็ว ความดันเลือดสูง ความดันเลือดด้าส่วนกลาง (CVP) สูง
-ระบบหายใจ หายใจหอบเหนื่อย ปอดมีเสียงกรอบแกรบ (รายที่มีHypervolemia)
-ระบบประสาท สับสน กระสับกระส่าย ชัก
-ระบบกล้ามเนื้อ อ่อนแรง ระบบทางเดินปัสสาวะ
น้อยหรือไม่มี
การรักษาภาวะโซเดียมเกิน
หาสาเหตุ 2. ดูแลให้ได้รับสารน้ำที่ไม่มีโซเดียม จำกัดเกลือ ขับเกลือ 3. เพิ่มโปรตีนในพลาสมาในรายโปรตีนต่้า (Alb) เพื่อดึงโซเดียมและ
น้ำจากช่องว่างระหว่างเซลล์เข้าหลอดเลือดและขับออกทางไต 4. นอนราบไม่ได้ ให้สารละลายไฮโปโทนิค (hypotonic) เพื่อลด
ระดับ โซเดียม แต่ไม่ควรให้น้ำเร็วเกินไปเพราะอาจจะทำให้เซลล์บวมได้โดยเฉพาะเซลล์สมองซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะสมอง
บวมและตามมาด้วยอาการชัก ได้