Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการพื้นฐานของพยาบาลจิตเวช, รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม - Coggle Diagram
หลักการพื้นฐานของพยาบาลจิตเวช
3.บทบาทพยาบาล
2.ระดับสูง/ระดับผู้เชี่ยวชาญ
2.เป็นผู้ติดต่อให้ความร่วมมือ
3.เป็นผู้บำบัดรักษาเบื้องต้น
1.เป็นที่ปรึกษา
มีหน้าที่ให้คำปรึกษาและแนะแนวแก่คนที่มีปัญหาเพื่อลดความเครียด
4.เป็นผู้นำในการบำบัด
การทำจิตบำบัดประคับประคอง
เป็นผู้ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้รับบริการ
สร้างสัมพันธภาพกับผู้รับบริการเชิงการรักษา
เป็นผู้ให้ความรู้
เป็นผู้นิเทศงานหรือประสานงาน
พยาบาลจิตเวชยังต้องดำรงไว้ซึ่งสิทธิ
ของผู้ป่วยและคุณภาพของงานบริการจำเป็น
ต้องสวมหน้าที่หลายบทบาทในเวลาเดียวกัน
ได้แก่ บทบาทของพยาบาล บทบาทของผู้ร่วมทีมสุขภาพจิต
และบทบาทของพลเมืองในสังคม
1.ระดับพื้นฐาน
3.เป็นตัวแทนสังคม
4.เป็นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำ
2.เป็นเสมือนตัวแทนพ่อแม่
5.พยาบาลเป็นเสมือนครู
1.เป็นผู้จัดสรรสิ่งแวดล้อมเพื่อการรักษา
6.ทางการรักษาพยาบาลที่ใช้เทคนิคเฉพาะทางการพยาบาล
บทบาทอิสระ
พยาบาลสามารถตัดสินใจได้เอง
บทบาทกึ่งอิสระ
พยาบาลตัดสินใจภายใต้กรอบสหวิชาชีพ
บทบาทไม่อิสระ
งานที่พยาบาลทำโดยรับคำสั่งจากวิชาชีพอื่น เช่น แพทย์
4.ระบบการดูแลอย่างต่อเนื่อง
ขอบเขตงานสุขภาพจิตและจิตเวชในระบบสาธารณสุขของประเทศไทย
ปัจจุบันกรมสุขภาพจิตมีโรงพยาบาลและสถาบันจิตเวชทั้งสิ้น 17 แห่ง
ให้บริการทั้งผู้ป่วยนอก
ผู้ป่วยใน
ผู้ป่วยจิตเวชยุ่งยาก ซับซ้อน
ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง
บริการเฉพาะเด็กและวัยรุ่น มี4 แห่ง
การบูรณาการงานสุขภาพจิตมีหลายระดับ ดังนี้
2.บริการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care Level) ดำเนินการโดยประชาชนเอง หรืออาสาสมัครที่ได้รีบการคัดเลือกจากชุมชน เช่นให้สุขภาพจิตศึกษา คัดกรองปัญหา สุขภาพจิต
3.บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ (Primary Medical Care Level) เป็นการรักษาพยาบาละดับแรก เช่นพนักงาน อนามัย พยาบาล นักวิชาการสาธารณสุข ให้ความรู้ ให้คำปรึกษา
1.การดูแลสุขภาพตนเองในระดับครอบครัว เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดีโดยให้การดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวชอย่างมีประสิทธิภาพช่วยให้ผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข
4.บริการสุขภาพระดับทุติยภูมิ (Secondary Medical Care Level) ดูแลการให้การพยาบาลผู้ป่วยนอก เช่น โรงพยาบาลชุมชน มียาทางด้านจิตเวชช่วยเหลือและให้ยาอย่างต่อเนื่องได้ และให้คำแนะนำทางด้านจิตใจไปได้
5.บริการสุขภาพระดับตติยภูมิ (Tertiary Medical Care Level) ให้บริการเฉพาะทางโดยผู้เชี่ยวชาญในโรงพยาบาล
กรมสุขภาพจิตเป็นหน่วยงานหลักที่เกี่ยวกับสุขภาพจิตโดยตรง ให้การสนับสนุนทางเทคโนโลยีแก่หน่วยงานสุขภาพ
การดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่บ้าน
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้มีการค้นหาปัญหาทางสุขภาพจิตด้วยตัวและผู้ป่วยเอง
ให้การดูแลเฉพาะเรื่องตามความต้องการของผู้ป่วย
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเอง
ประเมินผลความก้าวหน้าของผู้ป่วยและครอบครัวภายใต้แผนการรักษา
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความเป็นตัวเองและฟื้นฟูสภาพจิตใจ
เพื่อให้ผู้ป่วยนำพฤติกรรมที่ได้เรียนรู้และปรับเปลี่ยนดีขึ้นไปใช้ที่บ้านและชุมชน
หลักการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่บ้าน
ให้ข้อมูลข่าวสารทั้งความรู้เกี่ยวกับโรค การดูแล และการปฏิบัติด้านสุขอนามัย
ช่วยเหลือ สนับสนุน และให้กำลังใจ
สร้างสัมพันธภาพ ศรัทธาและความเชื่อถือไว้วางใจ
ให้อำนาจแก่ผู้รับบริการในการตัดสินใจหรือมีส่วนร่วมในการวางแผนแก้ปัญหา
ให้ความสำคัญกับความต้องการผู้รับบริการเป็นหลัก
ลักษณะการจัดบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
การบริการผู้ป่วยใน : มีปัญหาทางจิตรุนแรง จำเป็นต้องได้รับการรักษาในรพ.
บริการผู้ป่วยนอก : ไม่จำเป็นต้องได้รับการรักษาในรพ.
บริการจิตเวชฉุกเฉิน : บริการตรวจรักษา 24 ชม. แก่ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตที่เกิดกะทันหัน
บริการผู้ป่วยเฉพาะบางเวลา : บริการผู้ป่วยที่ดีขึ้นแล้ว แต่ยังไม่สามารถกลับเข้าครอบครัวและสังคมได้เต็มตัวในกลางวันและกลางคืน
บริการให้คำปรึกษาและการศึกษา : บริการด้านให้คำปรึกษา แนะแนว ฝึกอบรม และเผยแพร่ความรู้แก่บุคลากรในหน่วยงานต่างๆ
บริการสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
บริการติดตามผู้ป่วยที่ได้รับการจำหน่าย
บริการสุขภาพจิตเด็ก
บริการบำบัดรักาโรคพิษสุราเรื้อรัง
บริการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่
บริการศึกษาค้นคว้าวิจัยและการประเมินผล
เครือข่ายและบริการสุขภาพจิตชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพจิตและการป้องกันปัญหาดำเนินผ่าน โรงเรียน วัด และองค์กรท้องถิ่น
เป้าหมาย
ดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวชต่อเนื่อง
สนับสนุนให้ผู้ป่วยดำเนินชีวิตในชุมชนได้
1.หลักการพื้นฐานของการพยาบาลจิตเวช
คุณลักษณะของพยาบาลจิตเวช
มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีทางจิตเวชสังคม เพื่อใช้เป็นแนวทางการช่วยเหลือผู้รับบริการได้อย่างถูกต้อง
ยอมรับในพฤติกรรมของผู้รับบริการและหาแนวทางแก้ไขให้ดีขึ้น
มีความสม่ำเสมอในการกระทำและคำพูด เป็นที่ไว้วางใจสำหรับผู้รับบริการมีความจริงใจ
มีความเป็นอิสระและเชื่อถือในตนเอง
มีความอดทน เห็นอกเห็นใจผู้อื่น
เจตคติต่อการเจ็บป่วย
1) ความสัมพันธ์ระหว่างร่างกายและจิตใจไม่สามารถแยกออกจากกันได้ต้องอยู่ในภาวะสมดุล ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีระ ชีวเคมีและแสดงออกให้เห็นทางร่างกาย
2) มนุษย์ทุกคนมีคุณค่าและศักดิ์ศรีของตนเอง พยาบาลต้องเข้าใจและยอมรับในสิ่งผู้ป่วยเป็นและดูแลอย่างเท่า
เทียม
3) มนุษย์ทุกคนต้องการความช่วยเหลือประคับประคองด้านจิตใจ พยาบาลควรเข้าใจและรับฟังความคิดเห็นของ
ผู้ป่วย
4) มนุษย์ทุกคนมีความต้องการทั้งด้านร่างกายและอารมณ์ ความอบอุ่นรวมไปถึงปัจจัยทั้ง 4 อย่างในการดำเนิน
ชีวิต พยาบาลต้องค้นหาและตอบสนองความต้องการของผู้ป่วย
10) พฤติกรรมทุกอย่างมีความหมาย ขึ้นอยู่กับความสามารถของพยาบาลในการแปลพฤติกรรมของผู้ป่วย
5) การสื่อสารเป็นการแลกเปลี่ยนในสังคม พยาบาลควรระมัดระวังในการใช้คำพูดและท่าทางกับผู้ป่วย
9) ความคิด ความรู้สึก อารมณ์และปฏิกิริยาก่อให้เกิดพฤติกรรม ความเข้าใจขึ้นอยู่กับความไวต่อการรับรู้จากการสังเกต
6) การรับรู้เกี่ยวกับความเป็นจริงเป็นลักษณะเฉพาะตัว เมื่อมีเหตุการณ์คล้ายคลึงกันอาจเกิดการกระตุ้นอารมณ์
ความรู้สึกนึกคิดมาได้
7) การสำนึกระมัดระวังตนเอง (Self-awareness) พยาบาลจะต้องระมัดระวังความรู้สึก ของตนเองที่จะมีต่อการ
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย
8) อัตมโนทัศน์เกิดจากอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงในสังคม พยาบาลต้องทราบว่าบุคคลมีความรู้สึกอย่างไรต่อ
ตนเอง ต่อบุคคลอื่น และสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิต
15) ความสนใจและแนวถนัดตามธรรมชาติของแต่ละบุคคลเป็นพลังในการ พัฒนาบุคลิกภาพ การสังเกตและการ
ช่วยเหลือ
14) การเจ็บป่วยเป็นการเรียนรู้ชนิดหนึ่ง พยาบาลควรให้ความรู้ผู้ป่วยในเรื่อง เจตคติ พฤติกรรมที่ช่วยลดความวิตกกังวล
12) ความเครียดเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกพยาบาลต้องค้นหาสาเหตุ
อาการ และช่วยผู้ป่วยในการปรับตัวต่อความเครียดนั้น
11) พฤติกรรมไม่คงที่ พยาบาลต้องคาดการณ์ให้ได้ว่าเกิดจากสาเหตุอะไร ต้องให้การช่วยเหลือ รับฟัง อธิบาย ให้
ความเชื่อมั่น เพื่อให้ผู้ป่วยไว้วางใจ
13) บุคคลมีความสามารถในการเผชิญ (Coping) กับความเครียดที่แตกต่างกัน
16) การเจริญเติบโตของมนุษย์และพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
19)การบำบัดระยะฟื้นฟูเป็นระยะสำคัญต่อเพื่อให้ผู้ป่วยกลับสู่สภาวะที่ดีที่สุดทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา
17) มโนทัศน์เกี่ยวกับความเจ็บป่วยอาจมาจากวัฒนธรรม สังคม ครอบครัว ความคิด และความเชื่อของแต่ละ
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วย
20) การฟื้นฟูสมรรถภาพเป็นอิทธิพลจากความร่วมมือของผู้ป่วยและครอบครัว
18)ความเจ็บป่วยอาจทำให้การทำหน้าที่ของชีวิตผันแปรหรือต้องพึ่งพาผู้อื่น
หลักการพยาบาลจิตเวช
2) Self-understanding is uses as a therapeutic tools:การเข้าใจและรับรู้ในการกระทำ ความคิด และอารมณ์ของตนเอง พยาบาลต้องใช้ความเข้าใจตนเองเป็น
เครื่องมือในการรักษาผู้ป่วย
6) Avoiding increase in patient anxiety: หลีกเลี่ยงการเพิ่มความวิตกกังวลให้กับผู้ป่วย
7) Observation of mentally ill patient directed toward “Why” of behavior:
ความหมาย การใช้คำถามว่า “ทำไม” จะช่วยให้ พยาบาลทราบและเข้าใจพฤติกรรมและความต้องการของผู้ป่วย ซึ่งจะเป็นผลให้สามารถปฏิบัติการ
3) Consistency can be used to contribute to the patient security: การปฏิบัติตนอย่างเสมอต้นเสมอปลายใน สถานการณ์ต่าง ๆ ให้ผู้ป่วยเกิด ความรู้สึกอบอุ่น มั่นคง เกิดความรู้สึกไว้วางใจ และความเชื่อถือในตัวพยาบาล
5) Change in patient behavior through emotional experience not by rational interpretation:พฤติกรรมของผู้ป่วยจะเปลี่ยนได้เมื่อผู้ป่วยมีประสบการณ์ทางอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดที่เกิดจากการได้พบเห็นสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเองมาก่อน
4) Reassurance must be given in a suitable and in an acceptable manner: พยาบาลต้องเข้าใจความรู้สึกของผู้ป่วยให้กำลังใจในเวลาที่เหมาะสมถูกจังหวะความต้องการของผู้ป่วย
1) Patient need to be accepted exactly as they are: ผู้ป่วยต้องการการ ยอมรับในสภาพที่เขาเป็นอยู่ คือ การรับรู้และยอมรับในพฤติกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออก
8) Realistic nurse-patient-relationship:
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและ ผู้ป่วยต้องเป็นไปด้วยความจริงใจและถูกต้อง ตามแบบของวิชาชีพ
9) Nursing care centered on patient as a person not on control of symptoms:
ต้องคำนึงถึงความเป็นบุคคลและปัญหาของผู้ป่วย ไม่ใช่เพื่อการควบคุม อาการของผู้ป่วย
10) Routines and procedures explained at patients level of understanding:
กิจวัตรประจำวันหรือกิจกรรมต่าง ๆโดยคำนึงถึงสภาพความพร้อมของผู้ป่วย
11) Verbal and physical force avoided if possible:
หลีกเลี่ยงการใช้ คำพูดหรือกำลังบังคับผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น
12) Many procedures modified but basic principle unaltered:
วิธีการต่าง ๆ ในการให้การพยาบาลเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมแต่หลักการต้องคงเดิม
2.ลักษณะและขอบเขตงาน4มิติ
2) การป้องกันปัญหาสุขภาพจิตหรือรักษาภาวะทางสุขภาพจิตให้ดี (Prevention or Maintenance of Mental Health)
ต้อง กระทำอย่างต่อเนื่องเพื่อให้บุคคล
ได้รักษาระดับของสุขภาพจิตให้ดีอยู่เสมอ
3) การบำบัดรักษา (Therapeutic or Restoration
of Mental Health)
ต้องให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตหรือผู้ที่เจ็บป่วยทางจิตให้ได้รับการรักษาทันท่วงที
1) การส่งเสริมสุขภาพจิต (Promotion of Mental
Health)
การให้ความรู้ประชาชน
ในเรื่องสุขภาพจิต
4) การฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation of
Mental Health)
ฟื้นฟู สมรรถภาพของผู้ป่วยทั้งทางด้านร่างกาย
และจิตใจ
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม
น.ส.ชลิตตา เจริญสุข เลขที่ 17 62111301018
น.ส.ณัฐสุดา ฟักแก้ว เลขที่ 29 62111301030
น.ส.สุธาลิณี แสงใส เลขที่ 95 62111301098
น.ส.สุวภัทร อุสาพรหม เลขที่ 99 62111301102
น.ส.อัจฉรา แก้วปู่วัด เลขที่ 104 62111301107