Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 โรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 3 โรคหัวใจในหญิงตั้งครรภ์
การวินิจฉัย
EKG
Echocardiography
อาการนอนราบไม่ได้
ไอเป็นเลือด
หายใจลำบากรุนแรง
เจ็บอกที่สัมพันธ์กับการพยายาม
ออกแรงหรืออารมณ์
เขียว หรือ clubbing
เส้นเลือดดำที่คอขอดหรือโป่งพอง
ฟังได้ systolic murmur grade III ขึ้นไป หรือ diastolic murmur
การจำแนกความรุนแรงของโรคหัวใจ
Class I Uncompromised
ท่างานได้ตามปกติโดยไม่รู้สึกเหนื่อย
Class II Slightly compromised
สบายดีขณะพักแต่ถ้าทำงานตามปกติจะรู้สึกเหนื่อย
Class III Markedly compromised
สบายดีขณะพักแต่ถ้าท่างานเล็กน้อยก็จะรู้สึกเหนื่อย
Class IV Severely compromised
มีอาการของโรคหัวใจคือหอบเหนื่อยแม้ขณะพัก
แนวทางการดูแลรักษาโรคหัวใจระหว่างการตั้งครรภ์
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
ถ้าเป็น class I หรือ class II ที่ไม่เคยหัวใจล้มเหลวมาก่อนอนุญาตให้ตั้งครรภ์ได้ โดยอยู่ในความดูแลของแพทย์
อย่างใกล้ชิด
ผู้ป่วย class III และ class IV เป็น class II ที่เคยมีประวัติหัวใจล้มเหลวมาก่อน ไม่ควรแนะน่าให้ตั้งครรภ์
การคุมก่าเนิดด้วยวิธีประสิทธิภาพสูงและปลอดภัย
การดูแลรักษาทั่วไป
ลด stress ต่อหัวใจ เช่น ความกังวล ภาวะโลหิตจาง การติดเชื้อทุกชนิด
ลดการออกก่าลังหักโหมที่อาจเพิ่มภาระงานแก่หัวใจ
ลดอาหารเค็มลงบ้างแต่ก็ไม่ต้องจ่ากัดเกลือมากนัก
ควรงดดื่มสุราและงดสูบบุหรี่ ยาบางอย่างเช่น cocaine, amphetamine
พักผ่อนอย่างน้อยที่สุด 10 ชั่วโมงในตอนกลางคืน และนอนพักครึ่งชั่วโมงหลังอาหาร
ในระยะ 28 สัปดาห์แรก ให้มาตรวจทุก 2 สัปดาห์
ต่อไปตรวจทุก 1 สัปดาห์ ขึ้นกับความรุนแรงของโรค ควรประเมินการท่างานของหัวใจทุกครั้ง และตรวจหาอาการของหัวใจล้มเหลวด้วย
การท่าแท้งเพื่อการรักษา
อาจพิจารณาทำในรายที่
มีประวัติหัวใจล้มเหลวมาก่อนซึ่งยังไม่ได้แก้ไขสาเหตุ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งหัวใจล้มเหลวขณะตั้งครรภ์
พยาธิสภาพรุนแรง มีความเสี่ยงสูงต่อการตายสูง ได้แก่ โรค group 3
โรคหัวใจ class III และ IV
หัวใจอักเสบหรือก่าลังอักเสบอย่างรุนแรงจากไข้รูห์มาติค
การควบคุมโรคด้วยยาต่าง ๆ
Digitalis พิจารณาให้ในรายที่
โรคหัวใจ class III และ class IV
ผู้ป่วยที่มีประวัติหัวใจล้มเหลว
หัวใจโต
Atrial fibrillation
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
ให้ heparin ตลอดการตั้งครรภ์ (หยุดในระยะคลอด) เพราะไม่ผ่านรก
การคุมกำเนิด
แนะน่าท่าหมันเมื่อระบบหัวใจและหลอดเลือดปกติดีแล้ว (หลีกเลี่ยงการท่าด้วยวิธีแลพพาโรสโคป)
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเม็ดคุมก่าเนิดที่มีเอสโตรเจน
(น้่าและโซเดียมคั่งได้ง่าย)
หลีกเลี่ยงการใส่ห่วงอนามัย (เพิ่มความเสี่ยงต่อ BE)
การดูแลระยะการคลอด
ควรรับไว้ในโรงพยาบาลก่อนคลอด
และให้คลอดทางช่องคลอด
การผ่าตัดควรถือตามข้อบ่งชี้ทางสูติศาสตร์
เช่น fetal distress, CPD รกเกาะต่่า เป็นต้น
ให้ผู้ป่วยนอนในท่า semirecumbent
ให้ยาแก้ปวดในระยะคลอด การให้ยาชาแบบ continuous epidural block
จะช่วยลดอาการเจ็บปวดและ
ความกังวลได้ดี แต่ต้องระวังไม่ให้เกิดความดันโลหิตต่่า
ระวังหัวใจล้มเหลว ถ้ามีตรวจให้พบโดยเร็วและรีบรักษาแต่เนิ่น ๆ
แนะน่าให้ยาปฏิชีวนะป้องกัน bacterial endocarditis (BE) ในรายที่มีการติดเชื้อ
ช่วยคลอดด้วยคีมหรือเครื่องดึงสูญญากาศ เพื่อร่นเวลาเจ็บครรภ์ของระยะนี้ โดยไม่ต้องให้มารดาออกแรงเบ่งคลอด
หลังคลอดยังเป็นช่วงวิกฤติ หัวใจล้มเหลวได้ง่าย ให้เฝ้าสังเกตผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดระวังเรื่องการตกเลือด