Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อวัยวะรับสัมผัส, นางสาวสุชานาถ สุโขประสพชัย ชั้นปีที่2 เลขที่90…
อวัยวะรับสัมผัส
หู
-
การสูญเสียการได้ยิน
-
-
-
-
-
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
-
-
ประวัติในอดีต
การใช้ยาที่มีพิษต่อหู อุบัติเหตุที่ศีรษะ การผ่าตัดใบหู การได้ยินเสียงดังมากเกินไป ประวัติบุคคลในครอบครัว มีหูหนวก เป็นใบ้
-
โรคที่พบบ่อยในหูชั้นนอก
ขี้หูอุดตัน
-
พยาธิสภาพ
ขี้หูถูกสร้างจากต่อมสร้างขี้หู ส่วนมากเกิดจากขี้หูสร้างมากผิดปกติ ในผู้สูงอายุที่ต่อมสร้างขึ้หูฝ่อ ทำให้แห้งและแข็ง รวมทั้ง Epithelial ลดลง ทำให้ขี้หูอุดตันได้ง่าย
-
-
สิ่งแปลกปลอมในหูชั้นนอก
-
-
การรักษา
เป็นสิ่งมีชีวิตใช้ แอลกอฮอร์ 70% หยอดลงไปแล้วคีบออก ถ้าเป็นสิ่งไม่มีชีวิต ใช้น้ำสะอาด ใส่จนเต็มหูแล้วเทออก ถ้าเป็นของแข็งมช้เครื่องมือแพทย์คีบออก
-
โรคที่พบบ่อยหูชั้นกลาง
-
-
การบาดเจ็บจากแรงดันต่อหู
สาเหตุ
จากผลการเปลี่ยนแปลงความดันอากาศหรือความดันในหูชั้น กลางและโพรงกกหู มักเกิดในภาวะที่ท่อ Eustachain ทํางานผิดปกติ ส่วนมากเกิดจากการเดินทางโดยเครื่องบิน
-
พยาธิสภาพ
เมื่อความดันในหูชั้นกลางมีความแตกต่างจากบรรยากาศ ภายนอก เยื่อเมือกจะบวม มีการสร่างของเหลวจากต่อมเมือก มีเส้น เลือดฉีกขาด ทําให้เกิดของเหลวหรือเลือดคั่งในหูชั้นกลาง
-
-
โรคที่พบบ่อยในหูชั้นใน
-
โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน
-
อาการ
ประสาทหูเสื่อม ผู้ป่วยมีการเสียการได้ยินแบบประสาทเสียงเสีย ทําให้หูอื้อ ได้ยินไม่ ชัดเจน แน่นในหู มีเสียงดังในหู และ อาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน บางครั้งอาจคลื่นไส้อาเจียน เหงื่อออกร่วมด้วย ทําให้ผู้ปาวยไม่สามารถทํากิจวัตรประจําวันได้ตามปกติ ต้องนอนพัก
การรักษา
-
จํากัดความเค็ม เพราะความเค็มหรือโซเดียมที่มีมากในร่างกายจะทําให้มีน้ําคั่งในร่างกาย และน้ําในหูชั้นในมากขึ้น อาจทําให้อาการแย่ลง
-
ประสาทหูเสื่อมฉับพลัน
สาเหตุอาจเกิดจาก
-
การอุดตันของเลือดไปเลี้ยงที่หูชั้นใน อาจเกิดจากความเครียดทําให้หลอด เลือดแดงหดตวั ฉับพลัน หลอดเลือดที่เสื่อมตามวัยแล้วมีไขมันมาเกาะ เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเส้นเลือดสูง
การรั่วของของน้ําในหูชั้นใน เข้าไปในหูชั้นกลาง ซึ่งอาจเกิดมาจากการเบ่งถ่าย ไอ จามแรง ๆ หรือความดันในสมองสูงทําให้ประสาทหูเสื่อมและมี อาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน และเสียงดังในหู
-
-
การรักษา
-
การนอนพัก วัตถุประสงค์เพื่อลดการรั่วของน้ําในหูชั้นในเขาไปในหูชั้น กลาง(ถ้ามี)แนะนําให้นอนยกศีรษะสูง30องศาจากพื้นราบเพื่อให้มี ความดันในหูชั้นกลางให้น้อยที่สุด ไม่ควรทํางานหนักหรือออกกําลัง กายหักโหม 1 – 2 สัปดาห์
-
-
ตา
ต้อหิน
-
-
เมื่อมีแรงดันลูกตาเพิ่มมากขึ้นจะทา ให้ประสาทตาถูกทาลายส่งผลให้เกิด การสูญเสียประสิทธิภาพของลานสายตา และสมรรถภาพของการมองเห็น
-
ชนิด
ต้อหินปฐมภูมิ
ต้อหินชนิดมุมปิด
เมื่อมีการตีบแคบของ trabecular meshwork ที่เป็นทางระบายน้าเลี้ยง ลูกตาทาให้การระบายน้าเลี้ยงในลูกตาลดลงทาให้มีแรงกดภายในลูกตา โดยเฉพาะบริเวณขั้วประสาทตา (optic disc) มีการทาลายของประสาท ตาอย่างรวดเร็ว จอประสาทตาขาดเลือด สูญเสียการมองเห็น ปวดตามาก
ต้อหินชนิดมุมเปิด
เกิดความผิดปกติของทางเดินน้าเลี้ยงภายในลูกตา เช่น การตีบแคบของท่อ ตะแกรงที่เป็นทางระบายน้าเลี้ยงภายในลูกตา (trabecular meshwork) ทา ให้การระบายน้าเลี้ยงภายในลูกตาลดลง ในขณะที่การสร้างน้าเลี้ยงภายในลูก ตามีปริมาณเท่าเดิม ทาให้ความดันในลูกตาสูงขึ้นทีละน้อย เกิดการทาลาย ประสาทตา เกิดขึ้นช้า ๆ โดยแทบไม่มีอาการปวดตา จึงสูญเสียลานสายตาที ละน้อย จนกระทั้งเสียความสามารถในการมองเห็น
-
ต้อหินระยะเรื้อรัง
ความดันของลูกตาสูงขึ้นเล็กน้อย ผู้ป่วยอาจไม่ รู้สึกอาการอะไรเลย บางคนรู้สึกมึนศีรษะ ตาพร่ามัว รู้สึกเพลียตา ไม่มีอาการ ปวด ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของลานสายตา ลานสายตาจะค่อย ๆ แคบลง
ต้อหินทุติยภูมิ
เป็นต้อหินที่เกิดขึ้น เนื่องจากมีความผิดปกติภายในลูกตาหรืออาจเกิดจากมีโรคทางกายที่ทา ให้การไหลของเอเควียสลดลง
-
การพยาบาลผู้ป่วยต้อหิน
การเตรียมตัวก่อนการยิงเลเซอร์ เวลายิงจะไม่รู้สึกเจ็บภายใน 24ชั่วโมงแรก หลังยิงเลเซอร์อาจมีอาการปวดศีรษะหรือตามัวลงเล็กน้อย
-
-
-
ต้อกระจก
สาเหตุ
การเสื่อมตามวัย
ต้อกระจกที่ยังไม่สุก
เป็นระยะที่ตาขุ่นไม่มาก ลักษณะแรกการขุ่นของแก้วตาเริ่มที่เปลือกหุ้มแก้วตา ลักษณะที่สอง คือ ทึบตรงส่วนกลาง แก้วตา แต่ส่วนรอบ ๆ ยังใส
-
ต้อกระจกที่สุกเกินไป
เป็นต้อกระจกที่สุก มากจนขนาดเลนส์เล็กลงและมีเปลือกหุ้มเลนส์ที่ย่น เกิดจากน้าซึมออก นอกเซลล์ เลนส์แข็งมากขึ้น หากปล่อยทิ้งไว้ตาจะบอดได้
-
-
-
-
-
-
จอประสาทตาลอก
ภาวะที่เกิดการแยกหรือลอกตัวของชั้นจอประสาทตาด้านใน (neurosensory retina) ออกจากชั้นของจอประสาทตาด้านนอก (retinal pigment epithelium)
-
-
อาการและอาการแสดง
มีอาการมองเห็นแสงจุดดำหรือเส้นลอยไปลอยมา (floater)มองเห็นแสงวูบวาบคล้ายฟ้าแลบ (flashes of light) มองเห็นคล้ายม่าน บังตา (scotoma) หากมีการหลุดลอกบริเวณจุดรับภาพ (macula) การ มองเห็นก็จะเลวลง ผู้ป่วยจะมีอาการตามัวร่วมด้วย
การรักษา
-
การจี้ด้วยความเย็น
บริเวณรอบ ๆ รูหรือรอยฉีกขาดของจอประสาทตา เพื่อช่วยยืดให้จอประสาทตากลับเข้าที่ ซึ่งวิธีการ ชนิดนี้จะทาเมื่อจอประสาทตาฉีกขาดเป็นรู
-
-
-
-
-
อุบัตติเหตุทางตา
-
-
การรักษา
การรักษาที่สำคัญที่สุดคือการล้างตาโดยเร็วที่สุด หากเป็นไปได้ ผู้ป่วยควรได้รับการล้างตาด้วยน้ำสะอาดปริมาณมากอาจมากกว่า 5 ลิตร ตั้งแต่สัมผัสสารเคมีโดยมิต้องรอจนกระทั่งมาถึงโรงพยาบาล
เมื่อมาถึงโรงพยาบาลจะได้รับการล้างตาให้โดยทันทีโดยอาจต้องมี การถ่างขยายเปลือกตาแล้วหยอดยาชาก่อนเพื่อให้สามารถล้างตาได้สะดวก ขึ้นจนกระทั่งความเป็นกรดด่างในตาหมดไป
-
รักษาด้วยการใช้ยาขึ้นกับความรุนแรงที่เกิดขึ้น แพทย์อาจให้ยา ช่วยลดการอักเสบในตา ยาป้องกันการติดเชื้อ และยาที่ช่วยในการหายของ แผล
รักษาด้วยการผ่าตัด ประกอบด้วยการขูดเซลล์กระจกตาท่ีตาย แล้วออก และอาจมีการปลูกถ่ายเยื่อหุ้มรกเพื่อปิดแผล หรือลดการเกิด แผลเป็นบริเวณเยื่อบุตา
-
เลือดออกในช่องม่านตา
การรักษา
-
-
-
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด paracetamol และ diazepam เพื่อให้ได้พักผ่อนและประเมินอาการปวดตาแต่หากเลือดไม่ถูกดูดซึมไปในเวลา อันควรหรือมีอาการของ Blood stain cornea
-
การพยาบาล
-
ปิดตาทั้ง 2 ข้างที่มีเลือดออกด้วยผ้าปิดตา (eye pad) และที่ ครอบตา (eye shield) ไขหัวเตียงสูง 30-45 องศา เพื่อให้เลือดตกไปรวม ในช่วงหน้าม่านตาตอนล่าง
เช็ดตาให้ผู้ป่วยทุกวันในตอนเช้าพร้อมทั้งประเมินว่ามีภาวะ เลือดออกเพิ่มขึ้นหรือไม่จากการส่องดูด้วยไฟฉาย
ผู้ป่วยปวดตาต้องติดตามประเมินอาการปวดตาของผู้ป่วยภายหลัง รับประทานยาแก้ปวดแล้ว 30 นาที ถ้าไม่ทุเลา ยังคงปวดตามากและมีอาการ ร่วมอื่นๆ คือ ปวดศีรษะร้าวไปท้ายทอย คลื่นไส้ บางรายอาจอาเจียนร่วมด้วย ให้รีบรายงานแพทย์เพื่อประเมินความดันตา
-
แผลที่กระจกตา
-
-
การพยาบาล
-
-
-
แนะนำผู้ป่วยห้ามขยี้ตา อย่าให้น้าเข้าตา นอนตะแคงข้างที่มีพยาธิ สภาพเพื่อป้องกันการติดเชื้อสู่ตาข้างที่ไม่มีพยาธิสภาพ
-
ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยสม่าเสมอ เพื่อป้องกันภาวะพรากความรู้สึก (sensory deprivation) ในผู้ป่วยที่เหลือตาข้างเดียว
-
-
-