Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Preterm with extremely low birth weight - Coggle Diagram
Preterm with extremely low birth weight
preterm male คลอด C/S GA 27+2 by date with extremely low birth weight with respiratory distress syndrome with apnea of premature with late neonatal sepsis คลอด C/S due to unfavorable cervix with preterm premature rupture of membrane with maternal chroioamnionitis (11.32น. 28/12/63) APGAR score 6-6T-8T
ประเมินผู้ป่วย active ดี ปลายมือปลายเท้าแดงดี on
nasal DuoPAP FiO2 42% PEEP 4 mmHg on orogastric tube for feed ........ รับ feed ได้ดี ไม่มีท้องอืด มีอาการหยุดหายใจมากกว่า 20 วินาที (Apnea of premature)
problem list
Risk of early neonatal sepsis
ข้อมูลสนับสนุน
PPROM นานกว่า 24 ชั่วโมง
มารดามีไข้ 38.5 c (28/12/63)
ได้รับยา ATB
การสร้าง IgM ยังไม่สมบูรณ์
Apnea of prematurity
มีการหยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที
อัตราการหายใจ = 52 bpm (18/01/64 6น.)
SAT drop = .......
ปลายมือปลายเท้าเขียว
neonatal jaundice due to prematurity
ABO incompatibility
มารดามีพาหะ Hb E triat
มารดามี MCV = 78.5
reticulocyte count = 5.08%
Anemia
ได้รับเลือดวันที่
RDS S/P surfactant
ข้อมูลสนับสนุน
อัตราการหายใจ = 64 bpm (17/01/64 2น.)
กล้ามเนื้อช่วยการหายใจไม่สมบูรณ์
รีเฟล็กซ์เกี่ยวกับการไอมีน้อย และหายใจทางปากยังไม่ได้
On duoPAP
late neonatal sepsis
ไม่ได้รับ IgA จากน้ำนมมารดา
ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้เมื่อมีการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ
preterm male newborn GA 27+2 wk with ELBW
ข้อมูลสนับสนุน
น้ำหนักแรกเกิด 989 g.
GA 27+2 wk
Pathology
ลักษณะของทารกเกิดก่อนกำหนด
เปลือกตาบวมและนูนออกมา ตามักปิดตลอดเวลา
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น มองเห็นเส้นเลือดใต้ผิวหนังได้ชัดเจน มักบวมตามมือและเท้า ไขมันคลุมตัว (Vernix caseosa) มีน้อยหรือไม่มีเลย
น้ำหนักน้อย
พบขนอ่อน (Lanugo hair) ได้ที่บริเวณใบหน้า หลังและแขน ส่วนผมมีน้อย
การเจริญของกระดูกหูมีน้อย ใบหูอ่อนนิ่มเป็นแผ่นเรียบ งอพับได้ง่าย
ศีรษะจะมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัว กะโหลกศีรษะนุ่ม รอยต่อกะโหลก ศีรษะ และขม่อมกว้าง
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อยและเรียบ เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสั้น
รูปร่างรวมทั้งแขนขามีขนาดเล็ก
กล้ามเนื้อ และไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous fat) น้อย ผิวหนังเหี่ยวย่น
กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครงยังเจริญไม่ดี กระดูกซี่โครงค่อนข้างอ่อนนิ่ม ขณะหายใจอาจถูกกระบังลมดึงรั้งเข้าไปเกิด Intercostal retraction
หัวนมมีขนาดเล็ก หรือมองไม่เห็นหัวนม
ท้องป่อง เพราะกล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
ขนาดของอวัยวะเพศค่อนข้างเล็ก ในเพศชายลูกอัณฑะยังไม่ลงในถุงอัณฑะ รอยย่นบริเวณถุง (Rugae) มีน้อย ในเพศหญิงเห็นแคมเล็กชัดเจน
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี ทารกมักจะเหยียดแขนและขาขณะนอนหงาย มีการเคลื่อนไหวน้อย การเคลื่อนไหวสองข้างไม่พร้อมกัน และมักเป็นแบบกระตุก
เสียงร้องเบา และร้องน้อยกว่าทารกแรกเกิดครบกำหนด
Reflex ต่าง ๆ มีน้อยหรือไม่มี
หายใจไม่สม่ำเสมอ มีการกลั้นหายใจเป็นระยะ (Periodic breathing) เขียว และหยุดหายใจได้ง่าย (Apnea)
การจำแนกประเภทของทารกแรกเกิด
การจำแนกตามน้ำหนัก
1.1 Low birth weight infant (LBW infant) คือ ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม ในกลุ่มนี้อาจแบ่งย่อยเป็น Very low birth weight คือ น้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัม และ Extremely low birth weight (ELBW) คือน้ำหนักต่ำกว่า 1,000 กรัม
ผู้ป่วยมีน้ำหนักแรกคลอด 989 g.
1.2 Normal birth weight infant (NBW infant) คือ ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด 2,500 กรัม ถึงประมาณ 3,800 – 4,000 กรัม
การจำแนกตามอายุครรภ์
2.2 ทารกแรกเกิดครบกำหนด (Term or mature infant) คือทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์ มากกว่า 37 สัปดาห์ ถึง 41 สัปดาห์
2.3 ทารกแรกเกิดหลังกำหนด (Posterm infant) ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
2.1 ทารกเกิดก่อนกำหนด (Preterm infant) คือ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
ผู้ป่วยคลอดเมื่ออายุครรภ์ 27 wk 2 d
การจำแนกตามมาตรฐานการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ (Intrauterine growth chart)
3.2 ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่าอายุครรภ์ (Small for gestational age [SGA]) หมายถึง ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเปอร์เซนไทล์ที่ 10 เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุครรภ์เท่ากัน
3.3 ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักมากกว่าอายุครรภ์ (Large for gestational age [LGA]) หมายถึง ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักมากกว่าเปอร์เซนไทล์ที่ 90 เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุครรภ์เท่ากัน
3.1 ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักเหมาะสมกับอายุครรภ์ (Appropriate for gestational age [AGA]) หมายถึงทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักอยู่ระหว่างเปอร์เซนไทล์ที่ 10-90 เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุครรภ์เท่ากัน
ผู้ป่วยมีน้ำหนักแรกเกิดเหมาะสมกับอายุครรภ์อยู่ในเปอร์เซ็นไทล์ที่ 10-90 เมื่อเทียบกับทารกที่มีอายุครรภ์เท่ากัน
Jaundice
สาเหตุ
ภาวะตัวเหลืองผิดปกติเนื่องจากมีพยาธิสภาพ
2.1 ภาวะหมู่เลือดแม่กับลูกไม่เข้ากัน พบในคู่ทีแม่มีเลือดหมู่โอกับลูกเลือดหมู่เอหรือบี
และคู่ทีแม่มีเลือดหมู่ Rh ลบกับลูกเลือดหมู่ Rh บวก
2.2 ภาวะเม็ดเลือดแดงขาดเอ็มไซม์ GPD จึงแตกได้ง่ายกว่าปกติ พบในเด็กผู้ชาย
มากกว่าเด็กผู้หญิง
2.3 ภาวะตัวเหลืองทีสัมพันธ์กับการกินนมแม่
2.4 สาเหตุอืน ๆเช่น โรคท่อนํ าดีตีบ ซึงทารกจะตัวเหลืองร่วมกับอุจจาระสีซีด และ
ปัสสาวะสีเข้ม การมีเลือดออกทีหนังศีรษะ ภาวะพร่องไทรอยด์แต่กําเนิด การติดเชื้อในกระแสเลือด ตับ
อักเสบ เป็นต้น
ภาวะตัวเหลืองปกติทารกจะไม่มีความผิดปกติอื่นร่วมด้วย หายเองได้ภายใน - สัปดาห์
อันตรายจากภาวะตัวเหลือง
อาการผิดปกติทางสมอง เรียกว่า เคอร์นิกเทอรัส (Kernicterus) ในระยะแรกทารกจะซึม ดูดนมน้อยลง ตัวอ่อน ปวกเปี ยกหรือเกร็งหลังแอ่น ชัก และมีไข้ได้ในระยะยาวทารกจะมีการเคลือนไหวผิดปกติของร่างกายและแขนขา มีความผิดปกติของการได้ยินและการเคลือนไหวของลูกตา ส่งผลให้พัฒนาการล่าช้ากว่าปกติและอาจมีระดับสติปัญญาลดลงด้วย ความผิดปกติทางสมองเหล่านี ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้
การรักษาภาวะตัวเหลือง
การส่องไฟรักษา โดยการใช้หลอดไฟชนิดพิเศษทีมีความยาวคลื่นแสงที่เหมาะสมเท่านั้น
แสงแดดตามธรรมชาติไม่สามารถรักษาภาวะตัวเหลืองได
การถ่ายเปลี่ยนเลือด ทําในกรณีที่ระดับบิลิรูบินในเลือดสูงมากหรือทารกเริ่มแสดงอาการทาง
สมองแล้ว เพื่อลดระดับบิลิรูบินในเลือดลงอย่างรวดเร็ว
การแก้ไขสาเหตุของภาวะตัวเหลือง
ภาวะตัวเหลืองที่สัมพันธ์กับนมแม่ ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ภาวะท่อน้ำตีบ รักษาด้วยการผ่าตัด
การติดเชื้อในกระแสเลือด ต้องให้ยาปฏิชีวนะ และการรักษาประคับประคองร่วมด้วย
ภาวะพร่องไทรอยด์แต่กําเนิด ต้องให้ฮอร์โมนทดแทน