Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิจัยที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กประถมศึกษา - Coggle Diagram
วิจัยที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กประถมศึกษา
ข้อมูลของรายงานวิจัย
ผู้วิจัย
พัชรียา จำปาทอง
ปีที่พิมพ์
ปี 2557
ชื่อวิจัย
การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การเรียนการสอนรูปแบบซิปปา
สถาบัน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม
บัณฑิตวิทยาลัย;มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สาขาวิชาหลักสูตรการสอนและเทคโนโลยีการเรียนรู้
ความมุ่งหมายของวิจัย
เพื่อสร้างและใช้แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องการแก้โจทย์ปัญหา
คณิตศาสตร์โดยใช้การเรียนการสอนรูปแบบซิปปาสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่2
เพื่อศึกษาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น
การแก้ปัญหาโจทย์คณิตศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการสอนชิปปา
ตัวแปรตาม
ทักษะแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในการแก้โจทย์ปัญหาที่เหมาะสมกับนักเรียน
ทบทวนวรรณกรรมบทที่ 2
แนวการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการแก้โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
โมเดลซิปปากับกระบวนการแก่ล้โจทยป์ญหาคณิตศาสตร์
งานวจิยัที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้คือ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียน ที่ 1 ปี การศึกษา 2557 โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถมภ์1 อำเภอเมือง
จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 11 คน
เครื่องมือและการหาคุณภาพ
เครื่องมือในการศึกษา
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 โจทย์ปัญหาการบวกเลขสองหลักจำนวน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 โจทย์ปัญหาการบวกเลขสองหลักที่มีการทด
จำนวน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 โจทย์ปัญหาการลบเลขสองหลัก จำนวน 2 ชั่ว โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 โจทย์ปัญหาการลบเลขสองหลักที่มีการกระจาย
จำนวน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 โจทย์ปัญหาการบวกเลขสามหลัก จำนวน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 โจทย์ปัญหาการบวกเลขสามหลักที่มีการทด
จำนวน 2 ชั่ว โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเลขสามหลัก จำนวน 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 โจทย์ปัญหาการลบเลขสามหลักที่มีการกระจาย
จำนวน 2 ชั่ว โมง
1. แผนการจัดการเรียนรู้การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์
2. แบบทดสอบวัดทัษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ที่ผู้ศึกษาสร้างข้ึนแบ่ง
ออกเป็น
2.1 แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จำนวน 20
ข้อ 20 คะแนน
2.2 แบบอัตนัย แสดงวิธีการหาค าตอบ จำนวน 2
ข้อ 20 คะแนน
การบวก 1 ข้อ มีทด 10 คะแนน
การลบ 1 ข้อ มีการกระจาย 10 คะแนน
ปัญหาทางวิจัย
ปัญหาในการสอนโจทย์ปัญหาเป็นปัญหาหน่่งที่ครูผผู้สอนจำนวนมากมักพบว่าเด็กทำไม่ได้ดีตีปัญหาไม่แตกไม่รู้จะแก้ปัญหาอย่างไรเพราะอ่อนภาษาไทยจึงทำให้ตีความหมายโจทย์ไม่ได้ทั้ๆ ที่การสอนคณิตศาสตร์ให้บรรลุเป้าหมายสูงสุด คือนักเรียนจะต้องมีความสามารถในการแก้โ้จทย์ปัญหา ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในการนำไปใชใ้นชีวิตประจำวัน
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
การหาค่าความตรง (Validity)โดยใชค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญ โดยมีเกณฑ์การพิจารณาดังนี้คือ
+1 หมายถึง เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบนั้นวัดได้ตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้
0 หมายถึง เมื่อไม่แน่ใจวา่ ข้อสอบน้้นวัดได้ตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้
1 หมายถึง เมื่อแน่ใจวา่ ข้อสอบน้้นวัดได้ไม่ตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้