Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เมทาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน เกลือแร่และวิตามิน, ATP กระตุ้น,…
เมทาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน เกลือแร่และวิตามิน
โปรตีน
กรดอะมิโนถูกออกซิเดชันในสัตว์ :star:
กรดอะมิโนบางตัวถูกปล่อยจากการสลายโปรตีนแต่ไม่ได้นำกลับมาใช้ใหม่จึงสลายไป
เมื่อกินอาหารประเภทโปรตีนมาก จึงถูกสลายกรดอะมิโนมีมากเกินไป
เมื่ออดอาหาร คาร์โบไฮเดรตไม่เพียงพอจึงดึงโปรตีนมาใช้
การสังเคราะห์อะมิโนและนิวคลีโอไทด์ :star:
α-ketoglutarate
Glutamate,Glutamine,Proline,Arginine
Phosphoenolpyruvate and erythrose 4-phosphat
Tryptophan,Phenylalanine,Tyrosine
Pyruvate
Alanine,Valine,Leucine,Isoleucine
Ribose 5-Phosphate
Histidine
3-Phosphoglycerate
Serine,Glycine,Cystelin
Oxaloacetate
Aspartate,Asparagine,Methionine,Threonine, Lysine
ตัวกลางคือ 5-phosphateribosyl-1-pyrophosphate (PRPP)
การสังเคราะห์นิวคลีโอไทด์ :star:
De novo pathway จากสารตั้งต้นขนาดเล็ก :red_flag:
การสังเคราะห์ purine nucleotides
ติดฉลากรังสีบนอาหารนกพิราบแล้วดูแหน่งของกรดยูริค
C4 C5 N7 มาจาก glycine
N1 มาจาก Amine group ของ aspartate
N3 N9 มาจาก Amide group
C6 ได้มาจาก Co2
สารอนุพันธตัวแรกที่สังเคราะห์ได้ คือ inosine monophosphate (IMP)
GMP
AMP
การสังเคราะห์ pyrimidine nucleotides
เริ่มสังเคราะห์ Orotate แล้วนำไปต่อกับ PRPP
UMP -> UTP -> CTP
Salvage pathway สร้างจากเบสอิสระ :red_flag:
การสังเคราะห์ purine nucleotides
การใช้เบสเพียวรีนอิสระเป็นสารตั้งต้น
ใช้เอนไซม์ hypoxanthine-guanine phosphoribosyl transferase (HGPRT) เร่งปฏิกิริยา
ใช้เอนไซม์ adenine-phosphoribosyl transferase(APRT) เร่งปฏิกิริยา
การใช้เพียวรีนนิวคลีโอไทด์เป็นสารตั้งต้น
ใช้เอนไซม์ adenosine kinase เร่งปฏิกิริยา
การสังเคราะห์ pyrimidine nucleotides
นำนิวคลีโอไซด์มาเติมฟอสเฟต
การสังเคราะห์ deoxyribonucleotides
เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ DNA
โดย enzyme riconucleoside diphosphatase
การสังเคราะห์ ribonucleotide
De novo pathway ใช้สารตั้งต้นหลายชนิดและCO2 นำมาทำปฏิกิริยา
Salvage pathway นำเอาเบสอิสระหรือ nucleoside ที่ได้จากอาหารหรือมีอยู่เเล้ว กลับมาสังเคราะห์อีก
การสสายเบสไนโตรเจน
purine
ขั้นตอนแรกกำจัดหมู่อะมิโน
Adenine ถูกดึงหมู่อะมิโนออกโดยเอนไซม์ Adenase ได้เป็น inosine สลายต่อได้ hypoxanthine
เอนไซม์ พบในจุลินทรีย์
Guanine ถูกกำลัดอะมิโนโดยเอนไซม์ guanine deaminase ได้เป็นxanthine
hypoxanthine ถูกออกซิไดซ์ เป็น xanthine
Uric acid
2 more items...
Pyrimidine
เกิดที่ตับ
ขั้นแรก cytosine ขั้นแรกดีงหมูอะมิโน ได้เป็น uracil รีดิวซ์เป็น dihydrouracil
Thymine ถูกรีดิวซ์ได้ dihydrothymine
สลายต่อได้ β-ureidoisobutyric acid -> aminoisobutyric acid Co2 NH3
β-aminoisobutyric acid ถูกขับทางปัสสาวะ
1 more item...
สลายต่อได้ β-ureidopropionic acid -> β-alanine Co2 NH3
เปลี่ยนเป็น acetyle coA
Krebs cycle
การสลาย DNA RNA
การสลายนิวคบีโอไทด์ จะได้เบสและนำ้ตาลซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ purine pyrimidine ต่อไป
การสลายกรดอะมิโนในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม :star:
Amino acid สลาย
NH4+ สะสมมาก ทำให้เกิดพิษในร่างกาย
Urea cycle เกิดขึ้นในตับ
สารตั้งต้นคือ Ornithine เมื่อรวมกับไนโตรเจนและออกซิเจน ได้ในรูป Carbomoyl phostphate
หมู่อะมิโนที่จาก Carbamoyl Phosphate คือ Citrulline
Argininosuccinate
สลายได้ Fumarate ใน Citric cycle
สลายได้ Arginine ใน urea cycle ไปสร้าง urea
ในรูป Aspartate จากกระบวนการ transamination ของ oxaloacetate กับ glutamate
α-keto Acids
นำไปใช้ใน Citric acids cycle สังเคราะห์ Oxaloacetate เพื่อนำไปสร้าง glucose ต่อในสภาวะ glucose ในร่างกายน้อยภายในตับ
Acetyl CoA
เข้าสู่ Ketogenesis เพื่อสร้าง ketone bodies
Pyruvate
Acetoacetyl CoA
การสลายโปรตีนในกล้ามเนื้อ
ที่กล้ามเนื้อ Alanine ถูกเปลี่ยนเป็น Pyruvate
เกิดกระบวนกาน gluconiogenesis ที่ตับ ได้ glucose ส่งพลังงานไปยังกล้ามเนื้อ
การสลายของแอมโมเนีย ทำให้เกิดวัฏจักรยูเรีย ขับออกในรูปปัสสาวะ
การสังเคราะห์ไธมิไดเลต dTMP
สามารถยับยั้งการสังเคราะห์ thymine วิธี salvage pathway
สังเคราะห์มาจาก dUMP โดยเอนไซมผื Thymidylate synthase ช่วยเร่ง
คาร์โบไฮเดรต
เป็นขบวนการทางชีวเคมีต่างๆ ซึ่งเป็นเหตุของการสร้าง การสลาย และการเปลี่ยนแปลงของคาร์โบไฮเดรตในสิ่งมีชีวิต
คาร์โบไฮเดรตที่สำคัญที่สุด ประกอบด้วย
กลูโคส
เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่เกิดเมแทบอลิซึมได้ในสิ่งมีชีวิตแทบทุกชนิด
กลูโคสและคาร์โบไฮเดรตตัวอื่นมีส่วนในวิถีเมทาบอลิซึมอันหลากหลายของสปีชีส์ต่างๆ
ระดับของกลูโคสถูกใช้เป็นการควบคุมหลักฮอร์โมนอินซูลินซึ่งเป็นฮอร์โมนศูนย์กลางเมทาบอลิซึม
คาร์โบไฮเดรตประกอบด้วย
น้ำตาลซับซ้อน
คาร์โบไฮเดรตซับซ้อนอย่างซูโครส (น้ำตาลโมเลกุลคู่) มีน้ำตาลเดี่ยวออกมามากกว่าหนึ่งตัวในโซ่ คาร์โบไฮเดรตพวกนี้ถูกสลายในทางเดินอาหารโดยเอนไซม์เฉพาะที่สลายโซ่และให้น้ำตาลเดี่ยวออกมา
น้ำตาลอย่างง่าย หรือ น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
สามารถสลายได้โดยตรงในเซลล์
ความชอบน้ำอย่างมากของคาร์โบไฮเดรตส่วนมากทำให้การเก็บสะสมคาร์โบไฮเดรตในปริมาณมากไม่มีประสิทธิภาพ
เพราะ
น้ำหนักโมเลกุลที่มากของสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างน้ำกับคาร์โบไฮเดรต
ในสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ คาร์โบไฮเดรตที่มากเกินไปจะเกิดแคแทบอลิซึมเป็นประจำ
เพื่อสร้าง
อะซิติลโค เอ
ความสามารถ
เข้าวิถีการสังเคราะห์กรดไขมัน
พลังงานระยะยาวตามปกติเก็บสะสมอยู่ในรูปของ
กรดไขมัน
ไตรกลีเซอไรด์
อย่างไรก็ดี สัตว์ รวมทั้งมนุษย์ ขาดกลไกเอนไซม์ที่จำเป็นในการสังเคราะห์กลูโคสจากลิพิด แม้กลีเซอรอลจะสามารถเปลี่ยนมาเป็นกลูโคสได้ก็ตาม
ลิพิด อื่นๆ
คาร์โบไฮเดตรเชื้อเพลิงระยะสั้น
อันดับแรกของสิ่งมีชีวิตเพราะคาร์โบไฮเดรตเกิดเมทาบอลิซึมได้ง่ายกว่าไขมันหรือกรดอะมิโนของโปรตีนส่วนที่ใช้พลังงาน ในสัตว์
ระดับของกลูโคสถูกใช้เป็นการควบคุมหลักของฮอร์โมนอินซูลินซึ่งเป็นฮอร์โมนศูนย์กลางเมแทบอลิซึม คาร์โบไฮเดรตอย่างง่ายบางชนิดมีวิถีออกซิเดชันด้วยเอนไซม์ของมันเอง
เช่นเดียวกับคาร์โบไฮเดรตซับซ้อนอีกเล็กน้อย ตัวอย่างเช่น น้ำตาลโมเลกุลคู่ แล็กโทส ต้องอาศัยเอนไซม์แลกเทสเพื่อสลายได้เป็นองค์ประกอบมอโนแซ็กคาไรด์ ซึ่งสัตว์หลายชนิดขาดเอนไซม์นี้เมื่อโตเต็มวัย
วิถีเมแทบอลิซึมที่เกี่ยวข้อง
ปฏิกิริยาการตรึงคาร์บอน หรือการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่ง CO2 ถูกรีดิวซ์เป็นคาร์โบไฮเดรต
ไกลโคไลสิส - เมแทบอลิซึมแบบออกซิเดชันของโมเลกุลกลูโคสเพื่อสร้างเป็น ATP และไพรูเวต
วิถีเพนโตสฟอสเฟต ซึ่งเป็นการเปลี่ยนน้ำตาลเฮกโซสเป็นเพนโตส และสร้าง NADPH ทดแทน
การสร้างไกลโคเจน - การเปลี่ยนกลูโคสส่วนเกินไปเป็นไกลโคเจน ซึ่งเป็นกลไกเก็บสะสมของเซลล์ เป็นการป้องกันมิให้แรงดันออสโมติกส่วนเกินก่อตัวขึ้นในเซลล์
การสลายไกลโคเจน - การสลายไกลโคเจนเป็นกลูโคส ซึ่งให้กลูโคสแก่เนื้อเยื่อที่ต้องอาศัยกลูโคส
การสร้างกลูโคส - การสังเคราะห์โมเลกุลกลูโคสใหม่จากสารประกอบอินทรีย์เรียบง่าย ตัวอย่างในมนุษย์คือ การเปลี่ยนกรดอะมิโนบางชนิดในโปรตีนของเซลล์เป็นกลูโคส
คาร์โบไฮเดรตมักถูกเก็บอยู่ในรูปพอลิเมอร์สายยาว
โมเลกุลกลูโคสต่อกันด้วยพันธะไกลโคซิดิก
เป็นโครงสร้างค้ำจุน นั้นคือ
เซลลูโลส
หรือเพื่อการเก็บสะสมพลังงานนั้นคือ
ไกลโคลเจนแป้ง
ไกลโคเจน (Glycogen) เป็นพอลิแซ็กคาไรด์ที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่กว่าแป้งมาก ประกอบด้วยโมเลกุลของกลูโคสหลายแสนหรืออาจถึงล้านโมเลกุลขึ้นไปมาเชื่อมต่อกันในลักษณะเป็นสายยาวมีกิ่งก้านสาขา ไกลโครเจนเป็นรูปแบบการเก็บสะสมอาหารที่พบในมนุษย์และสัตว์เท่านั้น
ความหมาย
ไคติน
เมทาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต carbohydrate Metabolism
การสังเคราะห์ไกลโคเจน
Glycogenosis
เป็นการสลายไกลโคเจนให้เป็นกลูโคส แลคแตทตามความต้องการของร่างกาย เช่น ในตับจะสลาย ไกลโคเจนเป็นกลูโคส ส่วนในกล้ามเนื้อจะสลายเป็นไพรลูเวท
คาร์โบไฮเดรต
ประเภทของคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว
น้ำตาล2โมเลกุล disaccharide
ซูโครส Sucrose
มอลโตส maltose
แลกโตส
พอลี่แซคคาไรต์ polysaccharide
แป้ง starch
เซลล์ลูโคซีน cellulose
ไกลโคเจน glycogan
น้ำตาลเดี่ยว Monosaccharide
ฟรุตโตส Fructose
กาแลกโทส Galactose
กลูโคส glucose
คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน
การย่อยของคาร์โบไฮเดรต
การย่อยในปาก
เป็นการย่อยโดยการบดเคี้ยวของฟัน (ย่อยครั้งแรก)
การย่อยในลำไส้
เป็นการย่อยเชิงเคมี (ย่อยครั้งที่2)
การสลายกลูโคสเป็นพลังงาน
Krebs cycle
วัฏจักรกดซิตติกหรือวัธจักรเครบส์ (อังกฤษ Kerberos‘s cycle) หรือวัฏจักรกรดไตรคาร์บอกซิลิก เป็นวัฏจักรกลางในการผลิต ATP รวมทั้ง NADH + H+ และ FADH2ที่จะเข้าสู่ปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชั่นเพื่อสร้าง ATP ต่อไป
การย่อยสลายสารอาหารใดๆให้สมบูรณ์เป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำต้องเข้าวัฏจักรนี้เสมอ เป็นขั้นตอนการสร้างคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุดในการหายใจระดับเซลล์
เกิดขึ้นบริเวณเมทริกต์ซึ่งเป็นของเหลวในไมโทคอนเดรียโดยมีการสลายแอซิทิลโคเอนไซม์ เอ ซึ่งเกิดแก็สคาร์บอนไดออกไซด์และเก็บพลังงานจากปฏิกิริยาดังกล่าวไว้ในรูปของ NADH FADH2 และ ATP
Pentose phosphate
ประกอบด้วย 2 ระยะ
ระยะแรกเรีว่า ระยะใช้ออกซิเจน oxidative phase ซึ่งมีการสร้าง NADPH
ระยะที่สองเป็นการสังเคราะห์น้ำตาล 5 คาร์บอนไดออกไซด์ไม่ใช้ออกซิเจนnon-oxidation
วิธีเพนโตสฟอสเฟต หรือเฮกโซสมอโนฟอสเฟตชันต์ เป็นขบวนการซึ่งสร้าง NADPH และน้ำตาลเพนโตส หรือน้ำตาล 5 คาร์บอน
Glycolysis
Glycolysis คือกระบวนการย่อยสลายกลูโคสที่เกิดขึ้นภายในเซลล์
ผลลัพธ์ที่ได้จากกระบวนการ glycolysis คือ หนึ่งพลังงานที่เซลล์ต้องการ และสองกรดไพรูวิค pyruvic acid
การสังเคราะห์กลูโคส
Gluconeogensis
เป็นวิถีเมแทบอลิซึมที่เป็นการสร้างกลูโคสจากสารคาร์บอนที่มิใช่คาร์โบไฮเดรต
Glycogenolysis
เกิดในช่วงการอดอาหาร การอดอยากการกินอาหารคาร์โบไฮเดรตต่ำหรือการออกกำลังกายหักโหม
เป็นแบบดูดพลังงานอย่างมากกระทั่งATPหรือGTP ถูกนำมาใช้ทำให้ขบวนการดังกล่าวเป็นแบบคายพลังงาน
ไขมัน
กระบวนการเมทาบอลิซึม
กิจกรรมทางเคมีที่เกิดขึ้นเฉพาะสิ่งมีชีวิต
การสร้างพลังงาน
การเจริญเติบโต
การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
กำจัดของเสีย
ขบวนการเมทาบอลิซึมแบ่งเป็น 2 แบบ
Catabolism
ปฏิกิริยาที่ย่อยสลายสารประกอบขนาดใหญ่ให้เป็นสารโมเลกุลขนาดเล็กและปล่อยพลังงานเคมีที่อยู่ในพันธะโมเลกุลนั้นๆ
เรียกว่า Exergonic
การย่อยแป้ง --- กลูโคส --- ATP
กรดไขมันจากการย่อยอาหาร ดูดซึมที่ลำไส้เล็ก สังเคราะห์ใหม่เป็น tricylglycerol
95% ของพลังงานทั้งหมดยังอยู่ในรูปโซ่ไขมัน
Anabolism
ปฏิกิริยาที่สร้าง หรือรวมตัวเอาโมเลกุลขนาดเล็กให้เป็นโมเลกุลขนาดใหญ่
เรียกว่า Endergonic
เกิดการรวมตัวของโมเลกุลหลายโมเลกุล
เกิดเป็นแป้ง
ไกลโคเจน
เมทาบอลิซึมของลิพิด
การสร้างและการสลาย
กรดไขมัน
การเปลี่ยนให้เป็นพลังงาน
วิถีบีตา-ออกซิเดชัน
กรดไขมันอิสระจะถูกกระตุ้น
เอซิลโคเอ (acyl CoA)
ซึ่งจะต้องใช้พลังงาน 2 ATP
โมเลกุลของแอซีทิลโคเอ และ
ได้พลังงาน 5 ATP
ลิโพโปรตีน
เกิดจาก
โปรตีน
ลิพิด
ไตรกลีเซอไรด์
การสังเคราะห์
ตับ
เนื้อเยื่อไขมัน
เอ็นไซม์ที่ใช้ในการย่อย
เอนไซม์ Pancratic lipase
หลั่งจากตับอ่อน
ย่อยสลายไทรเอซิลกลีเซอรอล
เอนไซม์ Phospholipase
หลั่งจากตับอ่อน
ย่อยสลายฟอสโฟลิพิด
เอนไซม์ Cholesteryl ester hydrolase
ย่อยสลายพันธะเอสเทอร์ที่เชื่อมระหว่างCholesterol กับกรดไขมันในCholesteryl ester
การสังเคราะห์กรดไขมัน
สังเคราะ์เมื่อเซลล์มีพลังงานเพียงพอและมี Acetyl CoA
ไมโทคอนเดรีย
การพากรดไขมันเข้าไมโทคอนเดรีย
ไปยัง mitrocondrial matrix
เอสเทอริฟิเคชันไป CoA
Transestrification ไปยัง canintine ขนส่ง
จากนั้นเปลี่ยนกลับเป็น CoA
เกิดขึ้นที่ไซโตพลาสของเซลล์ตับและเนื้อเยื่อไขมัน
เริ่มจากAcetyl CoA แล้วค่อยๆเพิ่มจำนวนคาร์บอนขึ้นครั้งละ2อะตอมและรีดิวซ์ต่อไปจนได้ Palmitate
ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
ปฏิกิริยยา oxidation
ปฏิกิริยาที่โมเลกุลเกิดการสูญเสียอิเล็กตรอน
ปฏิกิริยา reduction
ปฏิกิริยาที่โมเลกุลได้รับอิเล็กตรอน
Ketone bodies
Acetone
Acetate
เข้าสู่วัฏจักรซิตริก
สร้างในตับและเป็นแหล่งพลังงานแก่เนื้อเยื่ออื่นๆเช่น กล้ามเนื้อหัวใจ กล้ามเนื้อลา
β-hydroxybutyrate
การกระตุ้นกรดไขมัน
ใช้ไป 2ATP
เปลี่ยน fatty acid ให้อยู่ในรูป fatty acyl
วิตามินและเกลือแร่
วิตามิน
แบ่งเป็น
วิตามินที่ละลายในไขมัน
วิตามิน D
ได้จาก
ปลาที่มีไขมันสูง
ปลาแซลมอน
ปลาเทราต์
ปลาซาร์ดีน
น้ำมันตับปลา
ปลาทูน่า
ปลาแมคเคอเรล
ตับวัว ไข่แดง เนย เห็ดบางชนิด
นม และนมถัวเหลือง
แสงแดด
ความสำคัญ
ดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัส
รักษาระดับแร่ธาตุในเลือด
ยับยั้งการหลั่งฮอร์โมนพาราไทรอยด์ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการสลายกระดูก
ถ้าขาดวิตามิน D
เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง
ระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัสในเลือดต่ำ
โรคกระดูกอ่อนในเด็ก (Ricket disease)
โรคกระดูกอ่อนในผู้ใหญ่ (Osteomalacia)
วิตามิน E
เป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์
ประโยชน์
ป้องกันการแตกของเม็ดเลือด
ป้องกันการอุดตันของเม็ดเลือด
ต่อต้านอนุมูลอิสระ
ป้องกันการเกิดการอักเสบ
พบได้ใน
ไข่ พืช ผัก ผลไม้ อาหารจำพวกถั่ว
น้ำมันที่มีส่วนผสมของถั่ว
น้ำมันถั่วเหลือง
น้ำมันมะกอก
น้ำมันดอกทานตะวัน
ถ้าได้รับมากเกินไปจะทำให้เกิดอาก่าร
คลื่นไส้
ท้องเสีย
อาเจียน
อ่อนเพลีย
มึนงง
วิตามิน K
ความสำคัญ
ช่วยในกระบวนการแข็งตัวของเลือด
ป้องกันภาวะเลือดไหลมากจนเกินไป
ได้จาก
ชาเขียว
ผักใบเขียว เช่น ผักโขม คะน้า กะเพรา บร็อคโคลี่
ผลไม้ตระกูลเบอรรี่ องุ่น ลูกพรุน กีวี่
แบคทีเรีย ในลำไส้
ถ้าขาด
เกิดความผิดปกติของกระดูกและฟัน
กระดูกบิดเบี้ยวผิดรูป
ภาวะกระดูกพรุน
หลังโก่งงอ
กล้ามเนื้อเป็นตะคริวบ่อย
เลือดกำเดาไหลบ่อย เลือดหยุดยาก
วิตามิน A
มี 2 รูปแบบ
รูปแบบวิตามิน เรียกว่า เรตินอล พบในอาหารที่มาจากเนื้อสัตว์
รูปแบบสารตั้งต้น เรียกว่า เบต้าแคโรทีน พบมากในพืชผัก
ผลิตโรด็อปซิน หรือสารสี
ช่วยในการมองเห็นในที่มืด ไม่เป็นโรคตาฟางในตอนกลางคืน
ช่วยบำรุงรักษาเยื่อบุผิวของอวัยวะต่างๆ เช่น ผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร
การเจริญเติบโตของกระดูก
ระบบภูมิคุ้มกัน
วิตามินที่ละลายในน้ำ
วิตามินซี
สังเคราะห์คอลลาเจ
ช่วนดูดซึมธาตเหล็กและสารอนุมูลอิสระ
การต่อต้านออกไซด์ของไวรัส
พบในผักสด รสเปรี้ยว
หากขาดจะทำให้เกิด เลือดออกตามไรฟัน อ่อนเพลีย เหงือกบวม เบื่ออาหาร
วิตามิน B
วิตามินบ B1
พบในเนื้อหมู ปลา ไก่
หากขาดจะทำให้เกิด โรคเหน็บชา
เอนไซม์ร่วมของกริบริตกิว
วิตามิน B2
ใช่ในการเจริญเติบโต
พบกันในเครื่องใน ไข่ นม
หากขาดจะมีอาการที่แสดงออกทางริมฝีปาก ผิวหนัง ตา
วิตามิน B3
พบในรำข้าว ถั่วลิสง ยีสต์ ผักสด มันฝรั่ง ใบยอ
หากขาดจะมีผลต่อระบบประสาทส่วนปลาย
วิตามิน B5
เผาผลาญคาร์โบไฮเดรต สังเคราะห์กรดไขมัน
หากขาดจะทำให้มีอาการปวดท้อง อาเจียน เป็นตะคริว
ได้จากตับ ไข่แดง หัวใจ และอาจพบได้ในนม ถั่ว ยีสต์และผักผลไม้
ได้จากตับ ไข่แดง หัวใจ และอาจพบได้ในนม ถั่ว ยีสต์และผักผลไม้
วิตามิน B6
สร้างเม็ดเลือดแดง
หาดขาดจะทำให้เกิดอาการอ่อนเพลีย ชาปลายมือปลายเท้า โลหิตจาง
พบได้ในจมูกข้าว ธัญพืช
วิตามิน B7
ควบคุมการสร้างฮอร์โมนอินซูลิน
สังเคราะห์ พิวริน (Purine)
ส่วนประกอบ
DNA
RNA
เนื้อสัตว์ ตับ ส่วนมากร่างกายได้รับจากแบคทีเรียในลำไส้
หากขาดจะทำให้เกิดอาการอ่อนเพลีย โลหิตจาง
วิตามิน B9
พบในผัก ผลไม้ ข้าวแดง
หากขาดจะทำให้เกิดอาการ ปากเปื่อย ท้องเดิน
วิตามิน B12
ไม่ทนต่อกรดและด่างมีความไวต่อแสง
พบในเนื้อสัตว์ ไม่มีในพีช
หาดขาดจะทำให้เกิดอาการโลหิตจาง อ่อนแรง ประสาทหลอน
เกลือแร่
Na และ K
หน้าที่
รักษาความเป็นกรดเป็นเบสในร1างกาย
ช่วยในการสังเคราะห์โปรตีนและไกลโคเจน
ควบคุมปริมาณน้ำในร่างกาย
ช1วยในการหดตัวของกล้ามเนื้อ และ
นำกระแสประสาท
Na พบมากที่สุดในของเหลว
นอกเซลล์
K พบมากที่สุดในของเหลว
ในเซลล์
พบในมะเขือเทศ ส้ม กล้วย มันเทศ มันแกว
ชนิดของเกลือแร่
เกลือแร่หลัก
(Macro minerals)
ร่างกายต้องการมากกว่า 100 มิลลิกรัมขึ้นไป
แคลเซียม(Calcium)
ฟอสฟอรัส(Phosphorus)
โซเดียม (Sodium)
เกลือแร่รอง
(Trace minerals)
ร่างกายต้องการน้อยกว่า 100 มิลลิกรัมแต่มีความสำคัญ
เหล็ก(Iron)
สังกะสี(Zinc)
ไอโอดีน (Iodine)
ประเภทของเกลือแร่ทดแทน
เกลือแร่สำหรับผู้ป่วยท้องเสีย(Oral Rehydration Salt , ORS)
เป็นผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์
ชดเชยการสูญเสียน้ำจากการอาเจียน หรือท้องเสีย
มีปริมาณเกลือแร่ เช่น โซเดียม (Sodium) เป็นหลัก
ผลิตภัณฑ์มักอยู่ในรูปแบบผงบรรจุซอง เพื่อนำไปละลายน้ำแล้วดื่ม
เกลือแร่สำหรับผู้ที่เสียเหงื่อจากการออกกำลังกาย(Oral Rehydration Therapy , ORT)
จัดเป็นอาหารและเครื่องดื่ม
ชดเชยการสูญเสียน้ำภายหลังการออกกำลังกายเท่านั้น
มีปริมาณน้ำตาล เช่น กลูโคส (Glucose) เป็นหลัก
ผลิตภัณฑ์มักอยู่ในรูปแบบเครื่องดื่มพร้อมดื่มบรรจุขวด
Ca
ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ ช่วยให้เลือดหยุดไหล
พบในนม เนย ถั่ว ไข่ ผัก ผลไม
P
Buffer ควบคุมกรดและเบสในเลือด H2PO4 HPO
DNA, RNA, การแบ1งเซลล. การสังเคราะห.โปรตีน Co enzyme
พบในเมล็ดฟักทอง ถั่ว ไข่ เนื้อสัตว์ นม
เนยแข็ง ผักบางชนิด เช่น มะเขือพวง
Mg
ใน glycolysisและATP metabolism
เป็นส่วนประกอบของกระดูก และเลือด
ช่วยในการทำงานของระบบประสาท
และการหดตัวของกล้ามเนื้อ
เป็นco factor ของenzyme
พบในผักสีเขียว
S
ช่วยให้เลือดแข็งตัว
เป็นองค์ประกอบของ
melanin
Thaimine
Isulin
Biotin
พบในเนื้อสัตว์ ไข่ กระเทียม ถั่วต่าง ๆ และ ผลไม้ที่มีสีเหลือง
Cl
เกี่ยวกับการออสโมซิสในร่างกาย
รักษาความเป็นกรด-เบส ใน
ร่างกาย
ในกระเพาะอาหารมีเอนไซม์ที่มี
กรดเกลือ (HCl)
Fe
องค์ประกอบ
heamoglobin
myoglobin
cytrochome
catalase
พบในใบขี้เหล็ก ถั่ว มะเขือพวง น้ำตาลทรายแดง ตำลึง รำข้าว งา ฟองเต้าหู้ ผัก ผลไม
Cu
Cu พา Fe ไปเปnนองคrประกอบของฮีม
Co factor tyrosinase
สร้าง
melanin
purine metabolism
Iodine
เกลือที่ได้จากน้ำทะเลหรือเกลือสมุทร
อาหารทะเล
พืชทะเล
หน้าที่
การทำงานและเจริญเติบโตของต้อมไทรอยด์
กระตุ้นอัตราการเผาผลาญ
กระตุ้นให้หัวใจทำงานได้
ดีขึ้น
กระตุmนให้มีการหลั่งน้ำนมมากขึ้น
Zinc
ช่วยในการสังเคราะห์โปรตีน
จำเป็นสำหรับการหายใจของเนื้อเยื่อ
ถ้าขาด
การเจริญเติบโตช้า
แผลหายช้า
การไหลเวียนของเลือดไม่ดี
เป็นโรคผิวหนัง
Mn
ระบบเอนไซม์ในการเผาผลาญ
ไขมัน
คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน
ส่งสัญญาณ
สมอง
ประสาท
กล้ามเนื้อ
ถ้าขาด
การเจริญเติบโตจะช้า
กล้ามเนื้อไม่มีแรง
การทรง
ตัวไม่ดี
การสร้างกระดูกและกระดูกอ่อนผิดปกติ
Fluoride
เป็นส่วนประกอบของกระดูก
และฟัน
ช่วยสร้างฟันให้แข็งแรง
ในยาสีฟันนั้น มีคุณสมบัติไปยับยั้ง
การใช้กลูโคสของเซลล์แบคทีเรีย
ATP กระตุ้น
สมาชิก กลุ่มที่ 5 :explode:
นางสาว เขมรัศมี เกื้อรอด 63101301017 เลขที่ 17
นางสาว จิดาภา เภาคำ 63101301018 เลขที่ 18
นางสาว จิรสุดา อนันทะสีหา 63101301019 เลขที่ 19
นางสาว จิราภรณ์ ธงภักดิ์ 63101301020 เลขที่ 20
glucogenic สามารถสังเคราะห์ เช่น α-keto Acids
รูปภาพประกอบ