Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการสิ่งแวดล้อม ปัญหามลพิษทางอากาศ, นางสาวสิริรัตน์ คำวงษา รหัส…
การจัดการสิ่งแวดล้อม
ปัญหามลพิษทางอากาศ
ปัญหาคุณภาพอากาศและผลกระทบต่อสุขภาพ
1) อัตราการเกิดโรคระบบทางเดินหายใจ
และโรคภูมิแพ้อากาศที่เพิ่มขึ้น ถือเป็นสาเหตุ
การตายอันดับ 5 ของประเทศ
ผลกระทบแบบเรื้อรัง
กรณีศึกษาด้านพิษวิทยาของสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์
ที่ศึกษาการได้รับสาร PAHs และ benzene
ตำรวจจราจร แม่ค้าข้างถนนและเด็กนักเรียน เป็นผู้ได้รับสารก่อมะเร็งสูงกว่าคนอื่นอย่างมีนัยสำคัญ
นัเรียนในกรุงเทพมหานคร ได้รับสาร
Polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs)
และ benzene มากกว่านักเรียนในชนบท
ผลกระทบแบบเฉียบพลัน
กรณีเหตุการณ์หมอกควันในภาคเหนือ
ที่ได้ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน
1) โรคระบบทางเดินหายใจ
2) โรคทางตา
ฝุ่นละอองที่ไม่สามารถขจัดออกมาได้โดยเสมหะจะสะสมในเนื้อเยื่อปอดและทำให้เกิดโรค
โรคปอดแข็งจากาวะฝุ่นจับปอด (pneumoconiosis)
ฝุ่นละอองที่สามารถละลายน้ำได้ดี อาจซึมเข้าสู่ระบบน้ำเหลืองหรือเลือด ซึ่งจะมีผลต่อ
ระบบทางเดินหายใจ
โรคเรื้อรังของปอด
มะเร็งปอด
2) กลุ่มอาการป่วยเหตุจากอาคาร
(Sick building syndromes/SBS)
ปัญหาที่เกิด
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์จากการหุงต้มในครัวเรือน
พิษของสารเคมีประเภทโอโซน
สารประกอบอินทรีย์ระเหยจากเฟอร์นิเจอร์
วัสดุตกแต่งในอาคาร
น้ำยาทำความสะอาดพื้นอาคาร
จากการถ่ายเทอากาศไม่ดี ทำให้เกิดการเจ็บป่วย ซึ่งอาการดังกล่าวจะไม่พบความผิดปกติใด ๆ
และเกิดขึ้นไม่ถาวร แต่จะส่งผลต่อประสิทธิภาพ
การทำงาน และปรากฏความรุนแรงเมื่ออยู่ในอาคารและหายไปเมื่อออกนอกอาคาร
ภายในที่ทำงาน สำนักงาน บ้าน คอนโด อาคารสูง
3) ปัญหาการเกิดโรคลีเจียนแนร์ที่มาสาเหตุมาจาก
เชื้อแบคทีเรียลีจิโอเนลลานิวโมฟิวลา
(Legionella pneumophila)
เกิดจากการปนเปื้อนมากับน้ำหล่อเย็นของ
ระบบปรับอากาศของโรงแรม หรืออาคารบ้านเรือน
โดยความรุนแรงของโรคอาจถึงตาย
หากไม่ทราบสาเหตุของการเกิดโรค
แหล่งกำเนิดที่สำคัญและผลกระทบของมลพิษ
ทางอากาศ
NOx
จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล และยังมีบทบาทสำคัญในการก่อตัวของ O3 และฝุ่นละออง
CO
จากการเผาไหม้ของน้ำมันที่ไม่สมบูรณ์
สารตะกั่ว
จากการเผาไหม้ alkyl lead
ที่ผสมอยู่ในน้ำมันเบนซิน
O3
จากการทำปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile organic compound / VOC)
และออกไซด์ของไนโตรเจนโดยมีความร้อน
และแสงอาทิตย์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
PM 10
จากการเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดีเซล
ฝุ่นละอองแขวนลอยคงค้างในถนน
ฝุ่นจากการก่อสร้างและจากอุตสาหกรรม
SO2
จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงที่มีซัลเฟอร์
เป็นองค์ประกอบ ส่วนใหญ่ คือ ถ่านหินและน้ำมันหรืออาจเกิดจากกระบวนการการทางอุตสาหกรรม
การใช้พลังงานในการคมนาคมขนส่ง
การผลิตไฟฟ้าและอุตสาหกรรม
มลพิษทางอากาศ คือ สภาวะที่มีของเสียซึ่งอยู่ในสภาพเป็นไอเสีย กลิ่น ควัน ก๊าซ เขม่า ฝุ่นละออง เถ้าถ่าน ที่รวมตัวอยู่ในบรรยากาศ
สารมลพิษที่เป็นปัญหาหลัก ที่ส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมและสุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม
ฝุ่นละอองที่มีขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน
(PM 10)
ฝุ่นรวม
(TSP)
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน
(PM 2.5)
ก๊าซโอโซน
(O3)
อากาศบริสุทธิ์ จะมีไนโตรเจน 78%
ออกซิเจน 20% คาร์บอนไดออกไซด์
และก๊าซเฉื่อย 0.2%
การป้องกันระยะยาวที่สามารถทำได้เอง
2) ติดตั้งอุปกรณ์ลดฝุ่นละอองภายในบ้าน
3) ปลูกต้นไม้ช่วยลดมลพิษ เช่น กระถิน มะขาม
1) การปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในที่พักอาศัย
4) หลีกเลี่ยงการเผาวัสดุต่าง ๆ ซากวัสดุ
ซากพืชผักทางเกษตรกรรม
5) ไม่ควรเร่งเครื่องรถยนต์และมอเตอร์ไซต์ขณะวิ่ง
และไม่ติดเครื่องรถยนต์และมอเตอร์ไซต์ขณะจอด
6) พ่นน้ำหรือทำความสะอาดลานบ้าน
ถนนสาธารณะแทนการกวาด
นางสาวสิริรัตน์ คำวงษา รหัส 601699