Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคฉี่หนู (Leptospirosis) - Coggle Diagram
โรคฉี่หนู (Leptospirosis)
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อเเบคทีเรีย ติดต่อมาสู่คนทางบาดเเผล เยื่อบุตา จมูก ปาก
ติดโรคจากการย่ำน้ำที่ท่วมขัง ย่ำพื้นดินที่ชื้อเเฉะ เเช่น้ำใรคลองบึงตั้งเเต่ 2 ชั่วโมงขึ้นไป
ติดเชื้อผ่านทางการรับประทารอาหารดื่มน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อ
เชื้อเเบคทีเรีย
Leptospira spp.
รูปร่างเป็นเส้นเกลียวสว่านวนมากว่า 18 เกลียวต่อตัว มีขนาด 0.1 ไมโครเมตร ยาว 6-12 ไมโครเมตร ปลายทั้งสองข้างโค้งงอคล้ายตะขอ ย้อมติดสีเเกรมลบ
เชื้อจะอยู่ได้ 3 สัปดาห์ในสภาพเเวดล้อมที่มีความชื้น ออกซิเจน สภาพกรดดด่าง (pH = 7.0-7.4) เเละอุณหภูมิ 28-30 องศาเซลเซียส
ถูกทำลายโดยความร้อน ความเเห้ง
การติดต่อ
1.การติดต่อทางตรง
โดยการสัมผัสหรือถูกสัตว์ที่มีเชื้อฉี่หนูกัด
2.การติดต่อทางอ้อม
เชื้อปนเปื้อนในเเหล่งน้ำขัง เข้าสู่ร่างกายคนทางผิวหนังที่ถลอก
มือสัมผัสเชื้อที่ปนเปื่อนอยู่เเหล่งน้ำขังเเล้วเข้าสู่ร่างกายทางเยื่อบุตา จมูก ปาก
หายใจเอาละอองนิวเคียสจากของเหลวเข้าไป
รับประทานอาหารหรือดื่มน้ำที่มีเชื้อฉี่หนูปนเปื้อน
ระยะฟักตัวของโรค
เฉลี่ย 10 วัน พบได้ตั้งเเต่2 วันถึง 26 วัน
อาการ
มีไข้สูงอย่างเฉียบพลัน อุณหภูมิ 38-40 องศาเซลเซียส ปวดเมื่อกล้ามเนื้อรุนเเรงบริเวณน่อง
โคนขา หลัง กดเจ็บปวกมาก
มีผื่นขึ้นบริเวณเพดานปาก เบื่ออาหาร อุจจาระร่วง
อาการรุนเเรงเฉียบพลัน
จุดเลือดออกตามผิวหนังเเละอวัยวะภายในร่างกาย โลหิตจาง ตับเเละไตวาย ดีซ่าน เยื่อหุ้มสมองอักเสบ มีอาการไอเป็นเลือด
การป้องกันเเละควบคุมโรค
1.สวมถุงมือยาง รองเท้าบูท ขณะสัมผัสดินเเละน้ำ
2.หลังเดินลุยน้ำต้องชำระล้างร่างกายให้สะอาด
3.ระวังน้ำไม่สะอาดกระเด็นเข้าตา ปาก จมูก
4.รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ เก็บอาหารในภาชนะที่มิดชิด
5.ห้ามดื่มน้ำตามเเหล่งน้ำธรรมชาติ
6.รักษาสุขภิบาลสิ่งเเวดล้อม ควบคุมเเละกำจัดหนูซึ่งเป็นเเหล่งรังโรค
7.ให้สุขศึกษากับประชาชนถึงวิธีการติดต่อของโรคฉี่หนู
การตรวจวินิจฉัย
1.วินิจฉัยจากประวัติ
การการประกอบอาชีพเสี่ยงที่สัมผัสเชื้อฉี่หนูในช่วง 1 เดือน การย่ำโคลน เเช่น้ำ
2.การเพาะเเยกเชื้อชนิดฉี่หนูจากเลือด น้ำไขสันหลัง ปัสสาว
ะ
3.การตรวจหาเเอนติบอดีในซีรัม
การรักษาพยาบาล
ผู้ที่มีอาการหรือมีประวัติลุยน้ำ ให้ไปพบเเพทย์โดยเร็วที่สุดภายใน 4-7 วันหลังปรากฎอาการ
เเพทย์รักษาโดยยาปฏิชีวนะกลุ่ม เพนนิซิลิน,เตตระไซคลิน,สเตรปโตมันซินหรืออิริโธรมัยซิน