Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4.3 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวชโรคซนสมาธิสั้น -…
บทที่4.3 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวชโรคซนสมาธิสั้น
ความหมายโรคซนสมาธิสั้น
โรคซน-สมาธสิั้น (attention-deficit/ hyperactivity disorder: ADHD) จะเรมิ่แสดงอาการตงั้แต่วัยเด็ก มีลักษณะการไม่ใส่ใจ ขาดสมาธิ (inattention) มีอาการซนไม่อยู่นิ่ง (hyperactivity) หุนหันพลัน แล่น (impulsivity)
อาการซนไม่อยู่นิ่ง
การที่มีกิจกรมการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติ
ในสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม หรือมีอาการกระวนกระวายกระสับกระส่ายอย่างมาก
ชอบเคาะโน่นเคาะนี่ ไปเรื่อย หรือพูดมาก พูดไม่หยุด
อาการหุนหันพลันแล่น
การกระทำที่รีบร้อนที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหันโดยขาดการคิด ไตร่ตรอง
มีโอกาสสูงที่จะเป็นอันตรายต่อตนเอง
การวิ่งพรวดพราดไปใน ถนนโดยไม่เหลียวซ้ายแลขวาดูว่ามีรถกำลังวิ่งมา
สาเหตุของโรคซนสมาธิสั้น
3) ปัจจัยทางจิตสังคม
การที่เด็กไม่ได้รับความอบอุ่นเป็นระยะเวลานานๆ เหตุการณ์ที่ทำให้เด็กรู้สึกเครียด การที่ครอบครัวของเด็กขาดความสมดุลใน ครอบครัว
4) ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
การที่เด็กมีความผิดปกติของระบบประสาท เช่น สมองอักเสบ (encephalitis) มีอาการชัก มี การสูดหายใจอากาศที่มีมลภาวะเป็นพิษ
1) ปัจจัยทางชีวภาพ
พันธุกรรม พบว่า ฝาแฝดไข่ใบเดียวกัน (monozygotic twins) ถ้าแฝดคนหนึ่งป่วยด้วยโรคซนสมาธิ สั้นโอกาสที่แฝดอีกคนหนึ่งจะป่วยด้วย
กายวิภาค สรีรวิทยา ของระบบประสาทการที่สมองถูกทำลาย (brain damage) มีส่วนเกี่ยวข้องกับด้วยโรคซนสมาธิสั้น
สารเคมีของระบบประสาท การทำงานของ dopamine ช่วยในการควบคุมพฤติกรรมการเคลื่อนไหวและแรงจูงใจใน การเรียนรู้ การที่เด็ก ADHD มีการหมุนเวียนกันของ dopamine และ norepinephrine มีระดับต่ำกว่าปกติ
5) ปัจจัยอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวข้อง
อารมณ์ของเด็ก ปัจจัยทางด้านพันธุกรรมที่ถ่ายทอดในครอบคร้ว มาตราฐานของสังคมใน เรื่องเกี่ยวกับความประพฤติและการกระทำ
2) ปัจจัยก่อนคลอด
การที่หญิงตั้งครรภ์ 3เดือนแรก มีการติดเชื้อ มีการเสพสุรา ยาเสพติดสูบบุหรี่ การคลอดก่อนกำหนด หรือการที่เด็กขาดระหว่างคลอด
ลักษณะอาการและอาการแสดงโรคซนสมาธิสั้น
มีพฤติกรรมที่ประกอบไปด้วยอาการไม่ใส่ใจ ขาดสมาธิ และ/หรือ อาการซนไม่อยู่นิ่งหุนหันพลันแล่น
อาการขาดสมาธิมีตั้งแต่ 6 อาการขึ้นไป แต่สำหรับวัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่ (อายุตั้งแต่ 17 ปีขึ้นไป) ต้องมีอาการอย่างน้อย 5 อาการขึ้นไป
มักจะไม่มีสมาธิในการทำงานหรือการเล่น
มักจะดูเหมือนไม่สนใจฟังเวลาที่พูดด้วยโดยตรง
มักจะไม่สามารถจดจำรายละเอียด
มักจะไม่ปฏิบัติตามคำสั่งและไม่สามารถทำงานเกี่ยวกับการเรียน
ม้กมีปัญหาในการวางแผนเกี่ยวกบังาน
มักจะหลีกเลี่ยง ไม่ชอบ หรือลังเลที่จะทำงานที่ต้องใช้ความคิด
มักจะทำของที่จำเป็นสำหรับการเรียนหรือการทำงานหายอยู่บ่อยๆ
มักจะถูกเบี่ยงเบนความสนใจจากสิ่งเร้าภายนอกได้ง่าย
มักจะลืมบ่อยๆ เกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน
อาการซน ไม่อยู่นิ่ง และอาการหุนหันพลันแล่นมีอาการดังต่อไปนี้ตั้งแต่ 6 อาการขึ้นไป สำหร้บวัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่ (อายุตั้งแต่ 17 ปีขึ้นไป) ต้องมีอาการอย่างน้อย 5 อาการขึ้นไป
มักจะวิ่งไปทั่วหรือปีนป่ายสิ่งต่างๆ
มักจะไม่สามารถเล่นหรือเข้าร่วมในกจิกรรมสันทนาการไดอ้ย่างเงียบๆ
มักจะลุกจากที่นั่งบอ่ยๆ
มักจะยุ่งวุ่นวาย
เมื่อนั่งอยู่กับที่มักจะมีอาการกระวนกระวาย
มักจะพูดมาก พูดไม่หยุด
มักจะมีปัญหาในการรอคอยให้ถึงตาตนเอง
มักจะขัดจังหวะ หรือสอดแทรกผู้อื่น
มักจะโพล่งตอบคำถามก่อนทจี่ะถามคำถามจบ
การบำบัดรักษาโรคซนสมาธิสั้น
1) การรักษาทางยา
การรักษาด้วยยา psychostimulants ยากลุ่มนี้จะเพิ่มการปล่อยหรือยับยั้งการดูดกลับของ dopamine และ norepinephrine ทำให้การพูด สอดแทรกบุคคลอื่น อาการกระสับกระสย รวมทั้งอาการซน อยู่ไม่นิ่งลดลง
กลุ่มที่มีส่วนผสมของ phentermine
กลุ่มที่มี ส่วนผสมของ methylphenidate
ช่วยเพิ่มระดับของserotonin
2) การรักษาโดยการปรับพฤติกรรมและการรักษาทางจิตสังคม
การฝึกอบรมพ่อแม่ในการดูแลเด็ก ADHD
การให้ความช่วยเหลือเด็กขณะอยู่ทโี่รงเรียน
การให้ความช่วยเหลือโดยมุ่งเน้นที่ตัวเด็กเป็นสำคัญ
การพยาบาลโรคซนสมาธิสั้น
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไมส่ามารถทำตามบทบาทหน้าที่ของตนได้อย่างมปีระสิทธภิาพ
มีความรู้สกึเห็นคุณค่าในตนเองต่ำเป็นระยะเวลานาน
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ
3) การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
เป้าหมายระยะสั้น เช่น จำนวนครั้งที่เด็กจะถูกไล่ออกจกห้องเรียนลดลงภายใน
ระยะเวลา 2 สัปดาห์
ให้ความรู้ คำแนะนำแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคุณครูเกี่ยวกับโรค
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดกับพ่อแม่และเด็ก และคุณครู
1) การประเมินสภาพ
การประเมินที่โรงพยาบาล
การประเมินเมื่อเดก็อยู่ที่โรงเรียน
4) การประเมินผล (evaluation)
พฤติกรรมต่างๆที่เป็นปัญหาลดลงหรือไม่
เด็กสามารถควบคุมตนเองได้ดีเพียงใด
เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้หรือไม่
พ่อแม่ผู้ปกครอง คุณครูสามารถให้การเลี้ยงดูเด็กและปรับพฤติกรรมเด็กได้อย่างมี ประสิทธิภาพเพียงใด