Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปความรู้การบริหารทางการพยาบาล หน่วยที่ 1 แนวคิด หลักการ ทฤษฎี…
สรุปความรู้การบริหารทางการพยาบาล หน่วยที่ 1
แนวคิด หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการการบริหาร
ความหมายของการบริหาร
การบริหารคือ กระบวนการวางแผน การจัดระบบองค์กรและพนักงาน การเป็นผู้นำ และการควบคุมการดำเนินงาน โดยมีการประสานงาน และการจัดสรรทรัพยากร เพื่อความสำเร็จขององค์กรตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ซึ่งประกอบด้วย การวางแผน การจัดระบบองค์กรและการจัดระบบพนักงาน ความเป็นผู้นำและการควบคุม
การวางแผนคือ การกำหนดเป้าหมายและสรรหานโยบายเพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย
หลักการของการบริหาร
ช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ (Objective) และเป้าหมาย(Goal) ของงาน หน่วยงานและองค์การ อย่างมีประสิทธิผล (Effectiveness) และมีประสิทธิภาพ (Effciency) สูงสุด
เป้าหมายของการบริหาร
1.ประสิทธิภาพ (Efficiency) เป็นความสามารถขององค์การในการบรรลุจุดมุ่งหมาย โดยใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด คือสิ้นเปลืองน้อยที่สุด
2.ประสิทธิผล (Effictiveness) ความสามารถขององค์การในการบริหารงานให้บรรลุจุดมุ่งหมายใน
ช่วงเวลาที่กำหนด
วัตถุประสงค์ของการทำงาน
คือ “ต้องทำงาน”โดยระบุว่าต้องทำงานอะไร
ทำเท่าไร(WHAT)
ทำที่ไหน(WHERE)
ทำเมื่อไร (WHEN)
ทำกับใคร(WHO)
ทำอย่างไร(HOW)ชัดเจน
องค์กรและการจัดการ
ความหมายของ องค์การ
องค์กรนั้นเป็นการรวมกลุ่มตั้งแต่สองคนขึ้นไปที่ต้องทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
การจำแนกประเภทขององค์การ
โดยยึดวัตถุประสงค์ขององค์กร ปีเตอร์ บลัวและ
ริชาร์ด สกอตต์ (Peter Blua and Richard Scott) แบ่งองค์การ ได้ดังต่อไปนี้
เพื่อประโยชน์ของสมาชิก
องค์การทางธุรกิจ
องค์การเพื่อบริการ
องค์การเพื่อสวัสดิภาพของประชาชน
การจำแนกองค์การโดยยึดโครงสร้าง
องค์การแบบเป็นทางการ (formal organization) เช่น บริษัท หน่วยราชการ โรงพยาบาล
องค์การแบบไม่เป็นทางการ (informal organization)เช่นชมรมกลุ่มต่างๆ
องค์ประกอบของการบริหารและหลักการบริหาร
กระบวนการบริหาร
(Administrative process)
PODC
การวางแผน (Planning)
การจัดองค์การ (Organizing)
การสั่งการหรือการอำนวยการ (Directing)
การควบคุมงาน (Controlling)
3.ผลลัพธ์ของการบริหารงาน (Output)
4E’S
ประหยัด (Economic)
ผลงานมีประสิทธิภาพ (Efficieney)
ผลงานมีประสิทธิผล (Effectiveness)
มีความเป็นธรรม (Equity)
ทรัพยากรการบริหารหรือปัจจัยการบริหาร (Administrative resources)
4 M
เงินหรืองบประมาณ (Money)
วัสดุและอุปกรณ์ (Material)
คน หรือบุคคลหรือบุคลากร (Man)
การจัดการหรือเทคนิคในการบริหาร (Management)
การพัฒนาแนวคิดในการจัดการ (Development of Management Thought)
การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
เทเลอร์ ( Frederick Taylor) เป็นบิดาของการจัดการ“Father ofScientific Management”แสวงหาวิธีการให้คนทำงานตามเวลา คัดเลือกคนให้ถูกกับงาน “Put the right man on the right job”
กิลเบรธ (Frank and Lillian Gilbreth ) แนวคิดของ กิลเบรธ
เห็นว่าการเคลื่อนไหวและความ
เหนื่อยเป็นของคู่กัน
เมื่อการเคลื่อนไหวถูกขจัดออกไป
ความเหนื่อยจะลดน้อยลง
แกนท์ (Henrry Gantt ) มีความเห็นคล้ายกับเทเลอร์ เช่น ความปลอดภัยในการทำงานและการส่งเสริมการพัฒนาพนักงาน แนวคิดของแกนท์จูงใจให้พนักงานและหัวหน้าทำงานได้เกินกว่ามาตรฐานปกติ
การจัดการแบบดั้งเดิม
(Classic Organization)
การจัดการแบบทางการ (Bueraucratic Theory) เวเบอร์ (Max Weber ) ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งทฤษฎีองค์กร โดยมีแนวคิดเป็นระบบราชการซึ่งเน้นที่ หลักการแทนการเน้นที่ปัจเจกบุคคลและเน้นที่ ความสามารถบนพื้นฐานที่มีประสิทธิภาพมาก
ฟาโยล (Henri Fayol)
1.มีการกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective)
2.คำนึงถึงความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (Specialization)
3.มีการประสานงาน (Coordination)
4.มีการกำหนดอำนาจหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน (Authority)
5.มีการกำหนดความรับผิดชอบ (Responsibility)
บทบาทของผู้บริหารในการจัดการ (Management Roles) จาก
การศึกษาเชิงลึกของมินซ์เบิร์ก (Henry Mintzberg . 1973)
บทบาทหน้าที่ด้านการทำงาน 7 ข้อ
การวางแผนและการจัดองค์กร
การแสดงบทบาท และวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
การให้ข้อมูล
การติดตามตรวจสอบ
การเป็นที่ปรึกษา
การมอบอำนาจ
การแก้ปัญหา
บทบาทหน้าที่ในการสร้างสัมพันธภาพ 6 ข้อ
การมีเครือข่าย
การให้การสนับสนุน
การพัฒนา และเป็นพี่เลี้ยงสอนงาน
การบริหารความขัดแย้ง และการสร้างทีม
การสร้างแรงจูงใจ และให้กำลังใจ
การยอมรับ และให้รางวัล
บทบาทในการจัดการ (Management Roles)
3.บทบาทในกระบวนการตัดสินใจ
2.บทบาทในกระบวนการปฏิสัมพันธ์
1.บทบาทในกระบวนการกลั่นกรองข้อมูล
แนวความคิดของนักวิชาการยุคนีโอ
คลาสสิค (NEO CLASSICAL PERIOD)
Chester Barnard ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีองค์การและสังคมวิทยาขึ้นมาชื่อ The Function of The Executive
อูชิ (William Ouchi เป็นผู้เผยแพร่ทฤษฏี ซี (Theory Z)
เอลตัน เมโย (Elton Mayo) เกี่ยวกับกลุ่มทางสังคมในการทำงาน
Argyris ลิเคิร์ท (Rensis Likert. กระบวนการพฤติกรรมของความเป็นผู้นำ ได้แก่ การจูงใจ อิทธิพลในการจัดการ การสื่อสาร กระบวนการการตัดสินใจ การตั้งเป้าหมาย และการพัฒนา พนักงาน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริการ
•ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์
•เปลี่ยนแปลงทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ อีกทั้ง นโยบาย หรือภัยคุกคามต่างๆ“ความเสี่ยง”
• การแพร่ระบาดของไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID-19
รูปแบบของเบนเนอร์จากการเริ่มต้นสู่ผู้ เชี่ยวชาญ (Benner’ Model of Novice to Expert)
1.การเริ่มต้น (Novice)
2.ความก้าวหน้า (Advance )
3.การเป็นผู้ริเริ่ม (Beginner)
4.ความสามารถ (Competent)
5.เป็นผู้เชี่ยวชาญ (Expert)
ทฤษฎีญี่ปุ่น William Ouchi
พนักงาน (Staff)
ความชำนาญ (Skill)
รูปแบบ (Style)
เป้าหมายที่สูง (Superordinate Goal)
ทิศทางการบริหารในอนาคต (Future Direction)
เป็นองค์กรแง่การเรียนรู้ ผู้ที่ทำงานต้องเรียนรู้
ตลอดเวลา ซึ่ง จะทำให้เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ผู้ชำนาญการด้านความรู้ในองค์กร จะเป็นผู้ที่มีคุณค่าที่บุคคลจะหาความรู้ได้ และมีการแลกเปลี่ยน ความรู้ จัดการความรู้
นางสาวศิรินภา ติยานิน เลขที่ 31 ชั้นปีที่ 3/B รหัส 61110301110