Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7 ประวัติหนังสืออ่านสำหรับเด็ก - Coggle Diagram
บทที่7
ประวัติหนังสืออ่านสำหรับเด็ก
หนังสืออ่านสำหรับเด็ก
และเยาวชนในต่างประเทศ
ในต่างประเทศได้เริ่มทำหนังสือสำหรับเด็กและเยาวชนมานานแล้วในประเทศอังกษ ได้เริ่มพิมพ์หนังสือ เมื่อประมาณ 200 ปีมาแล้ว หรือประมาณ พ.ศ.2287 โดยจอห์น นิวเบอรี่ และเรื่องราวของ
นิวเบอรี่ก็ยังคงนิยมจนถึงปัจจุบัน นับได้ว่าเป็นหนังสือเด็กที่ได้มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวาง เช่นเรื่อง The sleeping Beauty,
Red riding Hood, Tales of Mother Goose เป็นต้น ต่อมาได้มีนักเขียนที่มีลชื่อเสียงหลายคนเขียนเรื่องสำหรับเด็กอ่านเช่น โอลิเวอร์ โกลด์สมิธ มาเรีย เอชเวอร์ท ส่วนมากในประเทศเยอรมันก็ได้มีการเขียนนิทานสำหรับเด็กเป็นที่นิยมกันมากคือชุดนิทาน ของกริมม์และฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์แสน
การเขียนหนังสืออ่านสำหรับเด็ก
และเยาวชนในต่างประเทศ โดยแบ่งอายุ
ระหว่างอายุ 9-11 ขวบ
ระหว่างอายุ 12-14 ขวบ
ระหว่างอายุ 4-8 ขวบ
หนังสืออ่านสำหรับเด็กและ
เยาวชนในประเทศไทย
ประวัติและพัฒนาการ
ยุคคืบคลาน (2430-2471)
เกิดหนังสือพิมพ์สำหรับเด็กจัดทำในโรงเรียนเล่มแรก คือจดหมายเหตุแสงอรุณ พ.ศ. 2440 ได้สร้างหนังสือ 3 ชุด คือ ชุดแบบสอนอ่านเล่ม 1-4 ชุดจินตกวีนิพนธ์ เช่น สามก๊ก อิเหนา รามเกียรติ์ ราชาธิราช ชุุดหนังสืออ่านจรรยา นิทานสุภาษิต หนังสือธรรมจริยา นิทานสุภาษิต นิทานอีสป
พ.ศ.2451 มีเรื่อง อะละดินกับโคมวิเศษ
อาลีบาบากับพวกปล้น
ระหว่าง พ.ศ.2456-2462 มีเรื่อง เด็กที่เมืองจีน เด็กที่เมืองญี่ปุ่น นายแจ็คผู้ฆ่ายักษ์ ฉันอยากเป็นกลาสี ความลับของรูปเท้านกอินทรี
หนังสือสำหรับเด็กที่ควรกล่าวถึง คือ อัสสัมชัญ อุโฆษสมัย ดรุณศึกษา เสือสยาม สวนกุหลาบวิทยาลัย แถลงการณ์ศึกษาเทพศิรินทร์ เบญจมานุสาส์น คอลเลซ์นิวส์ ปรินส์รอยแยล
ราชินีบำรุง ยุพราชวิทยา
ยุคตั้งไข่(2472-2490
เป็นยุคเริ่มต้นนวนิยายและการ์ตูน หนังสือราชินีบำรุงลงนวนิยายสำคัญติดต่อกันตั้งแต่ปี 2473 เช่น เรื่องชีวิตเด็กน้อย ความลึกลับในรถตู้ วิลเลี่ยมเด็กจอมแก่น นิทานที่ขึ้นชื่อ คือ อาหรับราตรี พันหนึ่งทิวา นิยายเบงคลี ด้านการ์ตูน เรื่องสังข์ทอง เรื่องหลวิชัย
ทางกระทรวงศึกษาฯ ได้จัดทำหนังสือ 2 ชุด ชุดแรกเป็นนิทานทำง่าย ชุดที่สองคือ ชุดอ่านประกอบ เช่น
เรื่องนกนางเขน แมวสีสวาด ดอกรัก สัตว์แสนรู้ ชีวิตลูกสัตว์ต่างๆ อุดมเด็กดี ไม่เป็นไรลืมเสียเถิด
ยุคแบเบาะ (2364-2430)
ยุคสมุดข่อย เพราะหนังสือเขียนลงในสมุดข่อย นักเขียนที่สำคัญที่สุดในยุค คือ สุนทรภู่ เช่น สุบินทกุมาร สังข์ทอง
บางเรื่องได้นำมาตีพิมพ์ใหม่ เช่น จันทโครพ
ยุคก้าวเดิน(2491-2513)
ช่วงแรกระหว่าง
พ.ศ. 2491-2501
เป็นช่วงที่หนังสือเด็กเฟื่องฟู รุ่งเรืองที่สุด ใน พ.ศ.2493 เกิดหนังสือแสตนดาร์ดได้ทำ แสตนดาร์ด สติวเด้นท์ ชับพลีเม้นท์ เป็นนิตยสารที่ให้ความรู้ ทางภาษาอังกฤษ ต่อมาจัดทำขึ้น เช่น อนาคต ก้าวหน้า มิเรอร์ รีเดอร์ เริ่มเขียนนิทานชื่อขุนพลแกละ ในพ.ศ. 2496 มีหลายชุดที่มีชื่อ เช่น เสือใบ เสือดำ รามเกียรติ์ฉบับร้อยแก้ว นิทานผดุงศึกษา
ระหว่างปี พ.ศ. 2497-8 เกิดนิตยสารเด็กสำคัญหลายเล่ม คือ ชัยพฤกษ์การ์ตูน ตุ๊กตาดรุณสาร วิทยาศาสตร์มหัศจรรย์
ด้านการ์ตูน จัดทำการ์ตูน ชุดเจ้าโกร๋น มีการ์ตูน คาวบอยชุด คิดคาร์สัน ชุดที่มีชื่อที่สุดได้แก่ หนูเล็กลุงโกร่ง
ช่วงที่สองตั้งแต่
พ.ศ.2502 ถึงปัจจุบัน
ตั้งแต่ปีพ.ศ.2502 หนังสือเด็กเงียบเหงาไป ในพ.ศ.2504 มีหนังสือแสตนดาร์ดเยาวชนปี 2507 หนูน้อยกลอยใจ ปีพ.ศ. 2511 ได้จัดพิมพ์เรื่องเพลงเด็กและวิธีเล่นประกอบ พ.ศ. 2514-2516 ได้จัดพิมพ์การ์ตฅูนสวนเด็ก มีความรู้ทั่วไป วิทยารศาสตร์ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ชีวประวัติ นวนิยายสำหรับเด็ก ภูมิศาสตร์ การ์ตูน และคอลัมน์ยามว่างแนะวิธีประดิษฐิ์สิ่งต่างๆจากวัสดุเหลือใช้ สำนักพิมพ์ประมวลสาส์น ได้จัดพิมพ์นิทานสำหรับเด็ก ด้วยกระดาษปอนด์อย่างดีมีภาพสีประกอบ เรียกว่า นิทานจุ๋มจิ๋ม เช่น เรื่องช้างบิน เด็กน้ำ จิ๊กโก๋หลงทาง ปีเตอร์แพน เจ้าหญิงนิทรา โรบินสัน ครูโซ สโนไวท์ และเมาคลี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชประสงค์ให้จัดทำสารานุกรมสำหรับเด็กชุดหนึ่ง ให้มีเนื้อหาสาระครอบคลุมวิชาการต่างๆ อย่างกว้างขวาง ทั้งวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ พิมพ์ออกเพยแพร่ในระหว่างปีพ.ศ. 2516-2520
พิมพ์ออกมา 4 เล่ม