Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยโรคตา โรคหู คอ จมูก, นางสาวคีตภัทร บุญขำ, เลขที่ 9 …
การพยาบาลผู้ป่วยโรคตา
โรคหู คอ จมูก
ตา
ทำหน้าที่ในการมองเห็น
ประกอบด้วย 3 ชั้น
ชั้นนอก
เป็นชั้นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
Sclera
Cornea
ชั้นกลาง
มีหลอดเลือดจำนวนมาก
Iris
Ciliary body
Choroid
ชั้นใน
Retina
Lens
Vitreous
การตรวจตา
ใช้เทคนิคการดูและการคลำ
โดย
คิ้ว
ดูกระจายตัวของขนคิ้ว ผิวหนังอักเสบ เป็นขุยหรือไม่
หนังตา
ดูว่ามีอาการบมช้ำ หรือมีอาการหนังตาตกหรือไม่
ลูกตา
ดูตำแหน่งและควาสามมาตรของตาทั้ง2ข้าง
สังเกตุการเคลื่อนไหวข้างลูกตา สังเกตุความผิดปกติอื่นๆ
คลำโดยใช้นิ้วกลางและนิ้วชี้คลำวนเหนือเปลือกตาเพื่อสังเกตุความนุ่ม
เยื่อบุตาและตาขาว
สังเกตว่ามีการซีด หรือมีจุดเลือดออกหรือไม่
ขนตา
สังเกตว่ามีการม้วนเข้าข้างในหรือไม่
รูม่านตาและแก้วตา
ใช้ไฟฉายในการครวจดูการตอยสนองต่อแสง และสังเกตแก้วตามีการขุ่นหรือไม่หากขุ่นแสดงถงการเป็นต้อ
ความผิดปกติของตา
ต้อหิน (Glaucoma)
กลุ่มโรคที่มีลักษณะร่วม
ความดันในลูกตาสูง ขั้วตาผิดปกติและสูญเสียลานสายตา
สาเหตุ
มีการคั่งของน้ำเอเควียสจากมีโครงสร้างตาผิดปกติ / trabecular meshwork ผิดปกติตั้งแต่กำเนิด
มีความเสื่อมของเนื้อเยื่อภายในลูกตา /เนื้องอกในลูกตา /อุบัติเหตุในตา/มีต้อกระจกสุกหรือต้อกระจกสุกงอม
ใช้ยาที่มีสารฮอร์โมนพวกคอร์ติโคสเตียรอยด์ติดต่อเป็นเวลานาน
ชนิด
ปฐมภูมิ
(Primary glacoma)
ชนิดมุมปิด (angle – closure glacoma)
เกิดการตีบแคบที่ trabecular meshwork การระบายลดลง มีแรงกดภายในลูกตาโดยเฉพาะที่ optic disc มีการทำลายของประสาทตาอย่างรวดเร็ว ปวดตามาก
ชนิดมุมเปิด (open – angle glacoma)
เกิดความผิดปกติของทางเดินน้ำเลี้ยงภายในลูกตา การระบายน้ำเลี้ยงภายในลูกตาลดลงแต่การสร้างเท่าเดิม ทำให้ความดันในลูกตาสูงขึ้นทีละน้อย เกิดการทำลายประสาทตาช้าๆ แทบไม่มีอาการปวดตา
อาการและอาการแสดง
ระยะเฉียบพลัน
ปวดศีรษะมาก ปวดตามากสู้แสงไม่ได้ ตามัวลง เห็นแสงสีรุ้งรอบดวงไฟ
ระยะเรื้อรัง
ความดันของลูกตาสูงขึ้นเล็กน้อย อาจจะไม่รู้สึกอะไรเลย ลานสายตาจะค่อยๆแคบลง
การรักษา
ระยะเฉียบพลัน
รีบลดความดันในลูกตา ให้ยากินและยาหยอด เมื่อปกติแล้วจึงนัดมาผ่าตัด
ระยะเรื้อรัง
ให้ยาหยอดและยากิน แนะนำให้ควบคุมระดับความดันในลูกตาให้ปกติ นัดมาตรวจเป็นระยะ
ทุติยภูมิ
(Secondary glacoma)
เกิดจากมีความผิดปกติภายในลูกตา/โรคทางกายที่ทำให้การไหลของเอเควียสลดลง
แต่กำเนิด
(Congenital glacoma)
ต้อที่เกิดจากมี development anormalies
การพยาบาล
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษา
การเตรียมตัวก่อนการยิงเลเซอร์ ตอนยิงจะไม่รู้สึกเจ็บ
หลังยิงเลเซอร์อาจมีอาการปวดศีรษะหรือตามัวลงเล็กน้อย
หากตาแดง น้ำตาไหล ปวดตามาก ตามัวลง ตาสู้แสงไม่ได ให้มาตรวจก่อนวันนัด
สอนวิธีการหยอดตาอย่างมีประสิทธิภาพและแนะนำให้สวมแว่น
ต้อกระจก (Cataract)
เป็นภาวะที่แก้วตาขุ่น มีผลการเปลี่ยนแปลงโปรตีนภายในแก้วตา ไม่ยอมให้แสงผ่าน
สาเหตุ
การเสื่อมตามวัย (Senile cataract)
พยาธิสภาพ
ต้อกระจกที่สุกแล้ว (mature cataratc)
ตาขุ่นทั้งหมด ความแข็งพอดี เหมาะแก่การผ่าตัด
ต้อกระจกที่สุกเกินไป (hypermature cataract)
ขนาดเลนส์เล็กลงและมีเปลือกหุ้มเลนส์ที่ย่น เลนส์แข็งมาก ผ่าตัดยาก ทิ้งไว้ตาจะบอด
ต้อกระจกที่ยังไม่สุก (immature cataratc)
ตาขุ่นไม่มาก ทึบตรงส่วนกลางแก้วตาส่วนรอบๆยังใส
ความผิดปกติโดยกำเนิด (Congenital cataract)
เกิดจากสาเหตุอื่นๆ (Secondary cataract)
เช่น โดนกระทบกระเทือนอย่างแรงที่ลูกตา เป็นต้อหิน โรคเบาหวานไทรอยด์เป็นพิษ พาราไทรอยด์ พิษสารเคมี
อาการและอาการแสดง
ตามัวลง มองเห็นภาพซ้อน รู้สึกว่าสายตาสั้นลง
การรักษา
ผ่าตัดเอาแก้วตาที่ขุ่นออก เรียก ลอกต้อกระจก
ชนิดการผ่า
IICE
ผ่าตัดนำแก้วตาที่ขุ่นพร้อมทั้งเปลือกหุ้มเข้าตาทั้งหมดในเวลาเดียวกัน
ECCE
ผ่าตัดเอาแก้วตาที่ขุ่นออกพร้อมทั้งเปลือกหุ้มเข้าตาด้านหน้า โดยเหลือเปลือกหุ้มแก้วตาด้านหลัง
PE C IOL
ผ่าตัดโดยใช้คลื่นเสียงหรืออัลตราซาวด์ที่มีความถี่สูงเข้าไปสลายเนื้อแก้วตาแล้วดูดออกมาทิ้ง แล้วใส่แก้วตาเทียมเข้าไปแทน
การพยาบาล
ไม่นอนทับบริเวณตาที่ได้รับการผ่าตัด
หลีกเลี่ยงการเพิ่มแรงดัน เช่น ไอจาม เบ่งถ่ายอุจจาระ
ระมัดระวังการกระทบกระเทือนบริเวณดวงตาและศีรษะ
ทานอาหารอ่อนงดอาหารแข็งเหนียวที่ต้องออกแรงเคี้ยว
เมื่อกลับบ้าน
ลางคืนปิดฝาครอบตา กลางวันใส่แว่นตาสีชาหรือสีดำ
จอประสาทตาลอก
สาเหตุ
การเสื่อมของจอประสาทหรือน้ำวุ้นตา
ผ่าตัดเอาแก้วตาออกชนิด intracapsular cataract extraction
ได้รับอุบัติเหตุถูกกระทบกระเทือนบริเวณที่ตาหรือของแหลมทิ่ม
ชนิด
ชนิดที่เกิดจากรูหรือรอยฉีกขาดที่จอประสาทตา
ชนิดที่เกิดจากการดึงรั้ง
ชนิดไม่มีรูขาดที่จอประสาทตา
อาการและอาการแสดง
มองเห็นแสงจุดดำหรือเส้นลอยไปลอยมา เห็นแสงวูบวาบคล้ายฟ้าแลบ มองเห็นคล้ายม่านบังตา
การรักษา
Cryocoagulation (การจี้ด้วยความเย็น)
การฉีดก๊าซเข้าไปในตา
ผ่าตัดหนุนจอประสาทตา
ผ่าตัดน้ำวุ้นลูกตา
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
ให้ผู้ป่วย Absolute bed rest หลีกเลี่ยงขยี้ตา ส่ายศีรษะและใบหน้าแรง ห้ามก้มหน้า
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค แผนการรักษา การผ่าตัด
หลังผ่าตัด
ประเมินและป้องกันอาการเริ่มต้นของความดันลูกตาสูง
ดูแลให้นอนคว่ าหน้าหรือนั่งคว่ าหน้าให้ได้อย่างน้อยวันละ 16 ชั่วโมง
รับประทานอาหารอ่อนและประเมินอาการท้องผูก
เมื่อกลับบ้าน
ควรทำความสะอาดใบหน้าโดยใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำบิดหมาดๆเช็ดหน้าเบาๆ เฉพาะข้างที่ไม่ได้ผ่าตัด
อุบัติเหตุทางตาจากสารเคมี
ชนิด
สารด่าง
สารกรด
อาการและ
อาการแสดง
ปวดแสบปวดร้อนระคายเคืองตามาก
การมองเห็นจะลดลงถ้าสารเคมีเข้าตาจำนวนมาก
สู้แสงไม่ได้ ผู้ป่วยพยายามจะหลับตาตลอดเวลา
การรักษา
รีบล้างตาด้วยน้ำสะอาดปริมาณมากอาจมากกว่า 5 ลิตร แล้วนำส่งรพ.
หากภาวะ corneal abrasion อาจได้รับการป้ายยาterramycin ointment และปิดตาไว้ 24 ชั่วโมงและนัดมาประเมินซ้ำอีกครั้ง
การใช้ยาขึ้นกับความรุนแรงที่เกิดขึ้น แพทย์อาจให้ยาช่วยลดการอักเสบในตา
ยาป้องกันการติดเชื้อ ยาที่ช่วยในการหายของแผลเปิดที่กระจกตา ยาลดความดันตา
รักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
ล้างตาให้ผู้ป่วยโดยเร็วที่สุด โดยใช้ Normal saline / sterilewater โดยใช้เวลาอย่างน้อย 30 นาที
ดูแลบรรเทาอาการปวดกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการปวดตามากดูและแลให้ผู้ป่วยได้รับยาครบตามแผนการรักษา
เลือดออกในช่องม่านตา
การรักษา
ให้นอนศีรษะสูงประมาณ 30-45 องศา
ปิดตาทั้งสองข้างเพื่อให้ได้พักผ่อนลดโอกาสการเกิด
rebleeding และให้เลือดได้ดูดซึมกลับ
ติดตามประเมินอาการปวดตาของผู้ป่วยภายหลัง
รับประทานยาแก้ปวดแล้ว 30 นาที ถ้าไม่ทุเลาให้รีบรายงานแพทย์
ภาวะแทรกซ้อน
.Blood stain cornea
.Increase intraocular pressure
Rebleeding
เกิดจาก
การได้รับบาดเจ็บจากวัตถุไม่มีคมบริเวณตา ทำให้มีการฉีกขาด
ของเส้นเลือดบริเวณม่านตา ทำให้มีเลือดออกในช่องหน้าม่านตา
ความผิดปกติของกระจกตาจากโรคเบาหวาน
ปัจจัยที่ทำให้เกิด
ความยาวนานของการเป็นโรคเบาหวาน / การควบคุมระดับน้ำตาล
การมีความผิดปกติที่ไตจากเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง /โรคไขมันในเลือดสูง
อาการและอาการแสดง
ระยะแรก (NPDR)
ไม่มีอาการผิดปกติ
ระยะรุนแรง (PDR)
ตามัว
การรักษา
การรักษาด้วยการยิงเลเซอร์
ฉีดยาเข้าในน้ำวุ้นตา
ผ่าตัดน้ำวุ้นตา
การพยาบาล
แนะนำให้ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลให้คงที
ตรวจจอประสาทตาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
แผลที่กระจดตา
สาเหตุ
อุบัติเหตุ
กระจกตามีภูมิต้านทานต่อเชื้อโรคต่ำ
มีความผิดปกติของกระจกตา
ตาปิดไม่สนิทขณะหลับ
.ความผิดปกติบริเวณหนังตา
โรคทางกายที่ทำให้ภูมิคุ้มกันทั้งร่างกายบกพร่องลง
ใส่เลนส์สัมผัส
อาการและอาการแสดง
ปวดตา เคืองตา กลัวแสง น้ำตาไหล ตาพร่ามั่ว กระจกตาขุ่น
การรักษา
หาเชื้อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
กำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดแผลบริเวณกระจกตาที่เป็นสาเหตุอื่น เช่นภาวะตาปิดไม่สนิทขณะหลับ
.ส่งเสริมใหร่างกายแข็งแรง เช่น ให้รับประทานวิตามินซี
บรรเทาอาการปวดโดยให้รับประทานยาแก้ปวด
การพยาบาล
แยกเตียง ของใช้เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อสู้ผู้อื่น
เช็ดตาวันละ 1-2 ครั้ง โดยครอบเฉพาะพลาสติกครอบตา
หยอดตาตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัดโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
ช่วงแรกอาจต้องหยอดทุก 30 นาที
แนะนำผู้ป่วยห้ามขยี้ตา อย่าให้น้ำเข้าตา
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนและได้รับอาหารที่เพียงพอ
ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันภาวะพรากความรู้สึกในผู้ป่วยที่เหลือตาข้างเดียว
หู
กลไกการได้ยิน
ได้ยินเสียงผ่านทางอากาศ
ใบหูจะป้องให้เสียผ่านเข้ารูหูไปกระทบแก้วหู เกิดการสั่นสะเทือนไปตามกระดูกหูทั้ง 3 ชิ้น แล้วผ่าน Oval window เข้าไปยังหูชั้นใน
ได้ยินเสียงผ่านกระดูก
เสียงจากการสั่นของกระดูกจะวิ่งผ่านกระดูกมาสตอยด์เข้าไป ถึงหูชั้นในบริเวณ cochlea
การตรวจวินิจฉัยการผิดปกติของหู
ซักประวัติ
มีของเหลวออกจากหู
สีอะไร ลักษณะ
หูอื้อ
เป็นข้างไหน ไม่ได้ยินเสียงตลอดเวลาหรือไม่
อาการปวด
มากน้อยเพียงใด ปวดตลอดเวลาหรือไม่
มีเสียงดังในหู
ข้างไหน เสียงดังอย่างไร ดังเมื่อไหร่
เวียนศรีษะ
เป็นบ่อยมากแค่ไหน
ตรวจร่างกาย
ภายนอก
ดูและคลำ สังเกตอาการบวม แดง มีฝี มีรู มีถุงน้ำหรือไม่
ตรวจช่องหู
ตรวจด้วยไม้พันสำลีเพื่อสังเกตอาการปวด / ตรวจเยื่อแก้วหู
ตรวจศรีษะและลำคอหากไม่พบความผิดปกติที่หู
ดูฟันคุด ช่องปากทั้ง3ส่วน สังเกตุไซนัดอักเสบ ดูต่อมน้ำเหลืองบวมโตหรือไม่
ตรวจพิเศษอื่นๆ
ถ่ายภาพรังสีหู คอ จมูก ทำct scan
นัดตรวจซ้ำเป็นระยะๆ
ตรวจพิเศษด้วยเครื่องมือ
tuning fork tese
Weber test
เพื่อวินิจฉัยPtที่มีปัญหาการนําเสียงบกพร่อง
การแปลผล
ได้ยินเท่ากัน2ข้างปกติ
ระบบนำเสียงบกพร่องข้างที่มีปัญหาจะได้ยินชัด
/ระบบประสาทรับเสียงบกพร่องข้างปกติได้ยินชัดกว่า
Rinne test
คัดกรองโดยจําแนกประเภทของการสูญเสียการได้ยิน โดยฟังเปรียบเทียบที่หูข้างเดียวกัน ผ่านการนําเสียงทางอากาศ
การแปลผล
positive ได้ยินหน้าหูได้ดีกว่าหลังหู
negative ได้ยินหลังหูมากกว่าหน้าหู
false negative rinne จะมี bc>ac
ตรวจโดยการใช้คำพูด
SRT SD
Vestibular Function Test
Romberg's Test
Unterberger's Test
Gait Test
ตรวจดู Nystagmus
โดยการทํา Head Shaking / Position Test
Audiometry
การสูญเสียการได้ยิน
ประเภท
แบบการนําเสียงทางอากาศบกพร่อง (CHL)
เกิดจากความผิดปกติของหูชั้นนอกเยื่อแก้วหู และหูชั้นกลาง
แบบประสาทหูเสื่อม (SNHL)
เกิดจากความผิดปกติในอวัยวะ
รูปหอยโข่งในหูชั้นใน ตรงส่วนของเซลล์ประสาทรับเสียง
แบบผสม
พบได้ในโรคที่มีความผิดปกติของหูชั้นกลางและหูชั้นในร่วมกัน
ความบกพร่องที่สมองส่วนกลาง
ได้ยินแต่ไม่สามารถแปลความหมายของสัญญาณนั้นได้
สาเหตุการสูญเสียการได้ยินที่พบบ่อย
การนําเสียงทางอากาศบกพร่อง
เช่น ขี้หูอุดตัน เยื่อแก้วหูทะล
ประสาทหูเสื่อม
ตั้งแต่กําเนิด
เกิดภายหลัง
เช่น คนชรา เสียงดังมาก ติดเชื้อจากหูชั้นใน Vascular cause เป็นต้น
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
อาการนํา
เช่น หูอื้อ เสียงดังในหู หรือการได้ยินลดลง
อาการร่วม
เช่น ปวดหู น้ําออกหู คันหู มีเสียงดังในหู
ประวัติในอดีต
เช่น การใช้ยาที่มีพิษต่อหู อุบัติเหตุที่ศีรษะ
ตรวจร่างกาย
การส่องกล้องดูหู
การตรวจทางระบบประสาท
การตรวจการได้ยินด้วยส้อมเสียง
โรคที่พบได้บ่อยจากการได้ยินและการทรงตัว
ขี้หูอุดตัน
พยาธิ
ส่วนมากเกิดจากขี้หูสร้างมากผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ ปวดหู
การรักษา
ล้าง ใช้เครื่องดูด
สิ่งแปลกปลอดในหูชั้นนอก
อาการและอาการแสดง
หููอื้อ รําคาญ สูญเสียการได้ยิน เด็กเล็ก ๆมักเอามือจับหูบ่อย ๆ ร้องกวน
การรักษา
สิ่งมีชีวิต
ใช้แอลกฮอลล์70% หรือยาหยดประเภทน้ำมันหยอดลงไป แล้วคีบออก
สิ่งไม่มีชีวิต
ใช้น้ำสะอาด/เกลือปราศจากเชื้อหยอดจนเต็มหูแล้วเทออกหรือใช้ที่ล้างหูช่วย
ถ้าเป็นของแข็งใช้เครื่องมือแพทย์คีบออก
เยื่อแก้วหูฉีกขาดเป็นทะลุ
สาเหตุ
เคะหู ถูกกระทบกระเทือนอย่างแรง เได้รับอันตรายจากสียงดังมากๆ
อาการและอาการแสดง
เจ็บปวดเฉลียบพลัน สูญเสียการได้ยิน มีเลือดไหลออกจากหู
การรักษา
ทิ้งไว้เฉยๆ หากเลย2เดือนแล้วไม่ดีขึ้นให้ปรึกษาแพทย์
โรคหูน้ำหนวก
พยาธิ
มีการอักเสบของหูชั้นกลางและโพรงกกหูชนิดมีน้ำขัง ตรวจพบเยื่อแก้วหูบวมแดง
การรักษา
ปรับลดความดันในช่องหูให้ปกติ เช่น ให้ยาแก้แพ้ / ทำ myringotomy
หูชั้นกลางอักเสบเรื้องรัง
สาเหตุ
รักษาหูชั้นกลางอักเสบไม่หายขาดและกลับมาเป็นซ้ำ
อาการและอาการแสดง
เยื่อแก้วหูทะลุ มีของเหลวไหลเป็นหนอง
การรักษา
รักษาด้วยยาปฎิชีวนะและต่อด้วยการทำการผ่าตัด
โรคหินปูนเกาะฐานกระดูกโกลน
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ บางรายมีอาการเวียนศีรษะบ้านหมุนในขณะเปลี่ยนท่าทางของศีรษะ
การรักษา
ใช้เครื่องช่วยฟังสําหรับสูญเสียการฟังไม่มาก
ผ่าตัดใส่วัสดุเทียมเข้าไปเพื่อทําหน้าที่ในการส่งผ่านเสียงแทน
โรคหินปูนในหูชั้นในหลุด ( BPPV)
สาเหตุ
ความเสื่อมตามวัย อุบัติเหตุโดยเฉพาะการบาดเจ็บหรือบริเวณศีรษะ โรคหูชั้นใน การติดเชื้อ
อาการ
เวียนศีรษะบ้านหมุน สูญเสียการทรงตัว
การรักษา
ด้วยยา
ยาบรรเทาอาการเวียนศีรษะ
ทํากายภาพบําบัด
การผ่าตัด
มักทําในกรณีที่ผู้ป่วยรักษาด้วยยาและทํากายภาพไม่ได้ผล
โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน
สาเหตุ
ไม่ทราบชัดเจน
อาการ
ประสาทหูเสื่อม มีเสียงดังในหูและ อาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน
การรักษา
การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องขณะเวียนศีรษะ ให้ยาบรรเทาอาการ และการผ่าตัด
ประสาทหูเสื่อมฉลับพลัน
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ ได้ยินลดลงในหูข้างใดข้างหนึ่งอย่างฉับพลัน บางรายอาจมีอาการเวียนศีรษะร่วมด้วย
การรักษา
ทราบสาเหตุ
รักษาตามสาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ
มักมีอาการหายได้เอง วนใหญ่มุ่งรักษาเพื่อรักษาอาการอักเสบของประสาทหูและเซลล์ประสาทหู
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ
อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส การอุดตันของเลือดไปเลี้ยงที่หูชั้นใน การรั่วของของน้ำในหูชั้นใน
ทราบสาเหตุ
การบาดเจ็บ
หูตึงจากเหตุสูงอายุ
อาการและและอาการแสดง
ได้ยินลดลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปเท่าๆกันทั้งสองข้าง อาจมีเสียงดังในหูร่วมด้วย
การรักษา
ใช้เครื่องช่วยฟัง
จํากัดแคลอรี่
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเวียนศรีษะ
การวินิจฉัย
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
วิตกกังวล
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
ขาดความรู้ในการปฏิบัติตนเมื่อมีอาการต่างๆ
การปฏิบัติการพยาบาล
ให้ความรู้ Pt.โดยให้เคลื่อนไหวช้าๆ
ขณะมีอาการควรนอนพักนิ่งๆบนเตียง
ให้ความรู้ Pt. ในเรื่องโรคและกรรักษา
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
ให้คำแนะนำในการออกกำลังกาย
จมูก
กลไกการได้กลิ่น
เลือดกำเดา
สาเหตุ
เป็นเลือดออกทางจมูก จากการฉีกขาดของหลอดเลือดที่เยื่อบุโพรงจมูก
อาจมาจากการได้รับาดเจ็บ การมีสิ่งแปลกปลอมเข้าไป ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด การติดเชื้อ มีเนื้องอในช่องจมูก
อาการและอาการแสดง
เลือดออกจากผนังกั้นจมูกส่วนหน้า
เกิดจากเส้นเลือดบริเวณจมูกส่วนหน้าแตกทำให้มีเลือดไหลออกมา
พบมากในเด็ฏและคนหนุ่มสาว
เลือดออกจากผนังกั้นจมูกส่วนหลัง
มักพบในPt.โรค HT โรคในกลุ่มหัวใจและหลอดเลือดทำให้เลือดหยุดยาก
การรักษา
เลือดออกจากผนังกั้นจมูกส่วนหน้า
ใช้สารเคมีหรือไฟฟ้าจี้สกัดจุดที่เลือดออก
ใช้ Anterior nasal packing
เลือดออกจากผนังกั้นจมูกส่วนหลัง
ใช้ posterior nasal packing
Arterial ligation
Arterial Embolization
laser Photocoagulation
skin graft to nasalseptum and lateral nasalwall
การพยาบาลหลังการรักษา
จัดดท่านอนศีรษะสูง 45 60 องศาเพื่อลดอาการบวมและให้พักผ่อนให้เพียงพอ
ห้ามดึงผ้ากอซออกเอง
อธิบายให้ทราบว่าอาจมีอาการหูอื้อได้ แต่จะหายเมื่อนำตัวกดห้ามเลือดออก
ให้อ้าปากเวลาไอจาม
ภายหลังการนำเอาตัวกดเลือดออกควรนอนพักนิ่ง ๆ ก่อน 2-3 ชม.
ห้ามยกของหนักการออกกำลังกายโดยใช้แรงมาก ๆ อย่างน้อย 4-6 สัปดาห์หลังมีเลือดออก
ริดสีดวงจมูก
สาเหตุ
มักมีสาเหตุจากการเป็นหวัดเรื้องรัง เช่น หวัดภูมิแพ้
อาการ
น้ำมูกไหล คัดจมูก น้ำมูกลงคอ หายใจลำบากมีปัญหาในการรับกลิ่นหรือรสชาติ รู้สึกถึงแรงกดปวดแน่นที่บริเวณใบหน้าและหน้าผาก
สิ่งที่ตรวจพบ
ใช้ไฟฉายส่องดูรูจมูกมักพบมีติ่งเนื้อเมือกสีค่อนข้างใสอุดกั้นอยู่ในรูจมูก
อาการแทรกซ้อน
ทำให้มีอาการแน่นจมูกน่ารำคาญบางรายอาจมีไซนัสอักเสบ
การรักษา
กำจัดริดสีดวงจมูกออกโดย
Medical Polypectomy เป็นการใช้ยากลุ่มสเตียรอยด์พ่นจมูกเพื่อทำให้ยุบตัวลง
Surgical Polypectomy
Nasal polyp ทำผ่าตัด Polypectomy โดยใช้ Snaring
Antrochonal poly ทำผ่าตัด Caldwell-luc operation
การรักษาโรคที่เกิดร่วมและการป้องกันการเกิดซ้ำ
sinusitis
การอักเสบของเยื่อบุไซนัสข้างจมูก มีการติดเชื้อเข้าไปสู่ไซนัส
สาเหตุไซนัสอักเสบเฉียบพลัน
สุขภาพทั่วไปของผู้ป่วยไม่ดี เช่น ภูมิต้านทานต่ำ
สภาพของจมูก เช่น การอักเสบในจมูก เนื้องอกในจมูก
สาเหตุโดยตรง เช่น โรคที่มีอาการนำทางจมูก ฟันผุ
อาการ
ปวด กดเจ็บบริเวณโพรงอากาศข้างจมูฏ
คัดจมูก
มีของเหลวไหลเป็นหนองออกจากช่องจมูก
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะและยารักษาตามอาการรับประทาน
การพยาบาลหลังผ่าตัด
จัดท่านอนในท่าศีรษะสูง 40-45องศา
ประคบบริเวณจมูกด้วยความเย็นเพื่อบรรเทาอาการปวด
กระตุ้นให้ผู้ป่วยดูแลทำความสะอาดช่องปากโดยบ้วนปากด้วยน้ำเกลือปราศจากเชื้อบ่อย ๆ ควรหลีกเลี่ยงการแปรงฟันบริเวณแผล
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายการยกของหรือทำงานหนักภายใน 10-14 วันแรกหลังผ่าตัด
ม่ควรไอจามแรง ๆ ถ้าจะจามให้ทำแบบเปิดปาก
ช่องปากและลำคอ
Tonsillitis + Adenoiditis
สาเหตุ
Beta-hemolytic streptococci or Staphylococi
เสบเรื้อรังนั้นจากการเป็นโรคอื่นๆมาก่อน
ต่อมอดีนอยด์อักเสบนั้นมักพบว่าเป็นจากการเกิดต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
ไข้ ไอ เจ็บ คอกลืนลำบาก
รายที่ต่อมอื่นอยด์อักเสบด้วยจะพบอาการที่เป็นผลมาจากภาวะแทรกซ้อน
หายใจทางปาก
ช่องหูชั้นกลางอักเสบ
ารพูดเสียงขึ้นจมูก
การผ่าตัด
รักษาด้วยยาแล้วไม่ได้ผล
มีการกลับเป็นซ้ำของภาวะทอลซิลอักเสบประมาณ 4-5 ครั้ง / ปี
มีการเกิดฝีรอบทอนซิลและรักษาจนหายอักเสบแล้วอย่างน้อย 6 สัปดาห์
มีอาการกลืนลำบากมาก
มีภาวะบวมโตของต่อมทั้ง 2 นี้จนขัดขวางการหายใจ
มีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วยภายหลังต่อมนี้บวมโต เช่น ไข้รูมาติค
การพยาบาลหลังผ่าตัด
แนะนำให้รับประทานของเย็นเพื่อช่วยลดอาการบวมในลำคอและทำให้กล้ามเนื้อคลายอาการเกร็งตัวจะบรรเทาอาการปวดได้
หลังผ่าตัดควรทานอาหารไม่มีรสเปรี้ยวเผ็ดหรือร้อนเพราะจะระคายเคืองแผลในลำคอ
อธิายว่าผ่าตัดอาจมีอาการเจ็บคอคอแข็ง อาเจียนภายใน 24 ชม. แรกรวมถึงมีอาการเจ็บคอปวดหูนาน 7-10 วันหลังผ่าตัด
แนะนำงดการใช้เสียง หรือกิจกรรมใดๆที่ต้องออกแรงมาก อย่างน้อย 7 วันเพื่อรอแผลหาย
เลี่ยงแหล่งชุมชนในช่วง 7 วันแรกหลังผ่าตัดป้องกันการรับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
นางสาวคีตภัทร บุญขำ
เลขที่ 9 รหัส 62111301010