Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการครอบครัวและแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ - Coggle Diagram
พัฒนาการครอบครัวและแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ
ทฤษฎีครอบครัวตามมุมมองสังคมศาสตร์
ทฤษฎีครอบครัวตามมุมมองสังคมศาสตร์
ครอบครัวมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ประสบการณ์การเปลี่ยนผสานของครอบครัวจากระยะพัฒนาการหนึ่งสูงอีกระยะพัฒนาการหนึ่ง
ระยะพัฒนาการ
ครอบครัว
ระยะที่ 1 ครอบครัวระยะคู่ครองและแต่งงาน
(stage 1 the married couple)
ระยะที่ 2 ครอบครัวระยะเริ่มมีลูกหรือตั้งครรภ์(stage 2 childbearing families with infants)
ระยะที่ 3 ครอบครัวระยะมีลูกวัยก่อนเรียน(stage 3 families with preschool children)
ระยะที่ 4 ครอบครัวระยะมีลูกวัยเรียน (stage 4 families with school –aged children)
ระยะที่ 5 ครอบครัวระยะมีลูกวัยรุ่น (stage 5 family with adolescents)
ระยะที่ 6 ครอบครัวระยะมีลูกวัยผู้ใหญ่ ตอนต้นและเตรียมพร้อมแยกครอบครัวใหม่ (stage 6 families with young adults:launching)
ระยะที่ 7 ครอบครัวระยะวัยกลางคน (stage 7 middle- age parents หรือ emptynest)
ระยะที่ 8 ครอบครัวระยะวัยสูงอายุ (stage 8 aging families)
ทฤษฎีระบบครอบครัว (family systems theory)
เป้าหมายคือ
การช่วยให้สมาชิกครอบครัวแสดงบทบาทหน้าที่ตามความสามารถและศักยภาพของสมาชิกทุกคนให้ได้มากที่สุด
ทุกส่วนในระบบมีความเชื่อมโยงกัน (all part of the system are interconnected)
ระบบครอบครัวเป็นการมีปฏิสัมพันธ์กันของสมาชิกทุกคนในครอบครัวมากกว่าแค่การอยู่รวมกันของ
สมาชิกครอบครัวแต่ละคน (the whole is more than the sum of its parts)
ระบบครอบครัวใหญ่ประกอบดวยระบบย่อย การพิจารณาระบบครอบครัวอาจจําเป็นต้องแบ่งพิจารณาในระบบย่อยในครอบครัวด้วย
ระบบครอบครัวจะมีรูปแบบการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน
การปิดกั้นตนเอง (close boundary)
การเลือกปิดกั้นและเปิดรับในบางเรื่อง (flexible boundaries)
การเปิดรับทุกสิ่ง (open boundaries)
องค์ประกอบของระบบ
สิ่งนําเข้า (input) เป็นองค์ประกอบแรกของระบบ ถือเป็นวัตถุดิบ
กระบวนการ (throughput หรือ process) เป็นองค์ประกอบที่ 2 ประกอบด้วย กระบวนการที่ใช้ใน
การเปลี่ยนวัตถุดิบ หรือสิ่งนําเข้า (input) อย6างเป;นรูปธรรม
ผลผลิตจากกระบวนการ (output) เป็นผลผลิตหรือผลที่เกิดขึ้นจากระบบสิ่งนําเข้าและกระบวนการ
การประเมินผล (evaluation) เป็นการให้ความหมาย การวัดความสําเร็จหรือล้มเหลวของผลผลิตจาก
กระบวนการ สามารถประเมินได้หลายแบบ
การให้ข้อมูลสะท้อนกลับ (feedback) เป็นกระบวนการสื่อสารว่าได้ค้นพบอะไรบ้างจากการประเมินผล
ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ (structural functional theory)
เป็นการประเมินครอบครัวทั้งในภาพรวมและ
สมาชิกแต่ละคน รวมทั้งการมีปฏิสัมพันธ์กับระบบอื่นๆ
การจัดระบบในครอบครัว ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว
รูปแบบการสื่อสารในครอบครัว (community patterns)
โครงสร้างบทบาท (roles structure)
โครงสร้างอํานาจ (power structure)
ระบบค่านิยม (value systems) ค่านิยม คือ สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือเป็นเครื่องช่วยตัดสินใจ และกําหนดการกระทําของตนเอง
ทฤษฎีระบบชีวนิเวศวิทยา (bioecological systems theory)
รูปแบบแนวคิดระบบชีวนิเวศวิทยา
กระบวนการ (process)
บุคคล (person)
บริบท (context)
ระบบเล็ก (microsystems) เป็นสิ่งแวดล้อมที่อยู่ใกล้ชิด และมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับบุคคล
ระบบกลาง (mesosystems) เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมในระบบเล็กตั้งแต่ 2 ระบบ ขึ้นไปและส่งผลกระทบต่อบุคคล
ระบบภายนอก (exosystems) เป็นสิ่งแวดล้อมภายนอกที่มีอิทธิพลต่อระบบกลางและระบบเล็กแต่ไม่มีอิทธิพลหรือปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับบุคคล
ระบบใหญ่ (macrosystems) เป็นสิ่งแวดล้อมขนาดใหญ่ที่มีผลต่อระบบทั้งหมด
เวลา (time)
ทฤษฎีวิกฤติ หรือ รูปแบบ ABCX (ABCX model of family stress and coping)
ABCX
B: แหล่งประโยชน์ของครอบครัว
C: การรับรู้และการให้
ความหมายต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
X: ภาวะวิกฤติของครอบครัว
A: เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดวิกฤติ
Double ABCX
aA: สถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่
ที่ก่อให้เกิดปัญหาเพิ่มขึ้น
bB: แหล่งสนับสนุนที่เอื้อต่อ
ครอบครัว
cC: การรับรู้ต่อสถานการณ์ที่
ก่อให้เกิดความเครียด
xX: การปรับตัวต่อสถานการณ์
ทฤษฎีครอบครัวบําบัด (family therapy theories)
เพื่อนําไปใช้ในการวางแผนและปฏิบัติการพยาบาลเสริมสร้างให้
ครอบครัวทําหน้าที่ได้เหมาะสม ส่งผลต่อพัฒนาการที่ดีของสมาชิกในครอบครัว
ทฤษฎีการให้คําปรึกษาครอบครัวที่เน้นระบบครอบครัว (family system therapy theory)
สามเหลี่ยมสัมพันธ์ (triangles) เป็นความเกี่ยวข้องของบุคคล 3 คน
การแยกตนเองจากครอบครัวหรือความเป็นตัวของตัวเอง (differentiation of self)
ระบบอารมณ์ในครอบครัวเดี่ยว (nuclear family emotional process)
กระบวนการถ่ายทอดความรู้สึกให้สมาชิกในครอบครัว (family projection process)
กระบวนการสืบทอดจากบรรพบุรุษในครอบครัว (multigenerational transmission process)
การตัดขาดทางอารมณ์จากครอบครัว (emotional cutoff)
ตําแหน่งของพี่น้องในครอบครัว (sibling position)
กระบวนการทางอารมณ์ต่อสังคม (societal emotional process)
ทฤษฎีการพยาบาลและรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพ อื่นที่เกี่ยวข้อง (nursing theories and models)
ทฤษฎีการพยาบาลของโอเร็ม (Orem’s self-care deficit theory) มีแนวคิดเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อให้มีชีวิต มีสุขภาพและความเป็นอยู่ดี
ทฤษฎีการพยาบาลของไนติงเกล (Nightingale) ให้ความสําคัญในสวนของสิ่งแวดล้อมว่ามีผลต่อคุณภาพชีวิต
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย (Roy’s adaptation model) เกิดจากการปรับตัวเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเพื่อให้บุคคลอยู่กับสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุล
รูปแบบจําลองข้ามทฤษฎีหรือระดับขั้นของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (transtheorectical model) เป็นแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยแต่ละคนมีความพร้อมหรือมีเจตนาในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่แตกต่างกัน
รูปแบบความเชื่อด้านสุขภาพ (health belief model; HBM) -การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของบุคคลเกิดจาก(1) บุคคลต้องการมีสุขภาพดี (2) บุคคลเชื่อว่าเมื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแล้วจะมีสุขภาพดี
ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเองหรือการรับรู้สมรรถนะแห่งตน(self-efficacy theory) แนวคิดว่าการตัดสินใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคลขึ้นกับ ความเชื่อในความสามารถของตนเอง (efficacy expectation) และความคาดหวังในผลลัพธ์หรือผลจากการกระทํา (outcome expectation)