Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จุดเปลี่ยนที่สำคัญในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ4คืออะไร, นายสุรชัย สุทธิมูล…
จุดเปลี่ยนที่สำคัญในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ4คืออะไร
ลดภาระเอกสาร
สมศ. เริ่มให้สถานศึกษาส่งรายงานการประเมินตนเองเป็นไฟล์ไปยังหน่วยงานต้นสังกัด และจะมีการเชื่อมโยงฐานข้อมูลระหว่าง สมศ. และหน่วยงานต้นสังกัดผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาลดภาระเอกสารในการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
เพิ่มเทคโนโลยี
ใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูล
ประมวลผลข้อมูลการประเมินคุณภาพได้หลากหลายมิติ อาทิ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกทั้งในลักษณะรายแห่ง จังหวัด ภูมิภาค และระดับประเทศ
แสดงผลจุดเด่นในภาพรวมของสถานศึกษาทั้งประเทศในรายด้าน
ให้สถานศึกษาใช้ระบบสารสนเทศเพื่อลดภาระด้านการส่งเอกสารรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ส่งผลให้การดำเนินงานของ สมศ
Expert judgment
นอกจากเพิ่มประสิทธิภาพ ความน่าเชื่อถือและความรวดเร็ว โดยนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้สนับสนุนการประเมินคุณภาพภายนอกและเชื่อมโยงฐานข้อมูลกับหน่วยงานต้นสังกัด การประเมินเป็น Peer Review ตามองค์ประกอบคณะผู้ประเมินที่มีความเชี่ยวชาญ (Expert Judgment) อีกด้วย
การประเมินเชิงคุณภาพ
สมศ. ย้ำประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่เป็นการประเมินแนวใหม่ ใช้เทคโนโลยีลดภาระเอกสาร สถานศึกษาออกแบบตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพภายในเองภายใต้บริบทสถานศึกษา แก้ปัญหาใช้มาตรฐานเดียววัดทั้งประเทศ (One Size Fit All) ลดกังวลความเหลื่อมล้ำ สร้างจุดเปลี่ยน มุ่งประเมินเชิงคุณภาพ สร้างความเข้าใจกับสถานศึกษา
ลดจำนวนการประเมิน (1 IQA + 1 EQA)
ลดจำนวนการประเมินด้วย 1 IQA + 1 EQAการประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance) หรือ IQA เป็นการประกันคุณภาพการศึกษาโดยสถานศึกษาเอง ตามมาตรฐานที่ประกาศจากหน่วยงานต้นสังกัด ซึ่งบริบทของสถานศึกษาจะมีความต่างกันในเรื่องปัจจัยนำเข้า (Input) เช่น เด็ก เครื่องมือ สิ่งสนับสนุนต่างๆ กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output)
ซึ่งสถานศึกษาจะทำการประเมินตนเองทุกสิ้นปี
เชื่อมโยง สอดคล้อง ประกันคุณภาพภายใน
การประเมินคุณภาพภายนอกเชื่อมโยงกับระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด ที่คำนึงถึงบริบทของสถานศึกษา และเป็นไปตามมาตรฐานของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ
จำนวนวันประเมิน
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ กำหนดให้มีการวิเคราะห์ SAR (Pre-Analysis) โดยดูว่า SAR ของสถานศึกษามีความครบถ้วน ในประเด็นความเป็นระบบ/เหมาะสมเป็นไปได้ เชื่อถือได้ มากน้อยเพียงใด
ประเมินเพื่อ “พัฒนา” ไม่ใช่ประเมินเพื่อรับรองหรือไม่รับรอง
มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายหลัก และหลักการศึกษาของชาติ โดยให้มีเอกภาพเชิงนโยบาย แต่มีความหลากหลายในทางปฏิบัติ
มุ่งเสริมและประสานงานในลักษณะกัลยาณมิตร
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและพัฒนาการจัดการศึกษาจากทุกฝ่าย
ยึดหลักความเที่ยงตรง โปร่งใส มีร่องรอยหลักฐานตามสภาพจริง และมีความรับผิดชอบตรวจสอบได้
มุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่จับผิดหรือให้โทษ
การวิเคราะห์โดย 3P
สมศ. ได้มีการยึดหลักการปฏิบัติงานแบบมีส่วนร่วม เพื่อให้ครอบคลุมทุกภาคส่วนในการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษา
การวิเคราะห์ตามบริบท
สมศ. มีการพัฒนาระบบวิเคราะห์การจัดคณะผู้ประเมินให้เหมาะสมกับสถานศึกษา ด้วยกระบวนการ Alteryx Data Analytics ซึ่งเป็นระบบที่ช่วยในการวิเคราะห์และประมวลผลในรูปแบบ Visualizations
นายสุรชัย สุทธิมูล 62121430107 สาขาฟิสิกส์