Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเยี่ยมและส่งเสริมสุขภาพครอบครัว - Coggle Diagram
การเยี่ยมและส่งเสริมสุขภาพครอบครัว
ความหมายและวัตถุประสงค์ของการเยี่ยมครอบครัว
การพยาบาลครอบครัวหรือการเยี่ยมครอบครัวจึงหมายถึง การให้บริการด้านสุขภาพเชิงรุกใน
การดูแลสุขภาพของบุคคลและครอบครัวในทุกกลุ่มอายุและสถานะสุขภาพ
เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการเยี่ยมครอบครัว
เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ
เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชนในการดูแลตนเอง
เพื่อลดอัตราการเกิดโรคและอัตราการตายของประชากรในชุมชน
เพื่อปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว
เพื่อพัฒนาบริการสาธารณสุขที่มุ่งเน้นให้บริการเชิงรุกไปสู่ครอบครัวและชุมชนอย่างมีระบบ
การแบ่งกลุ่มภาวะสุขภาพครอบครัว
กลุ่มภาวะสุขภาพดี (Wellness condition)
กลุ่มภาวะสุขภาพคุกคาม (Health threat)
กลุ่มภาวะสุขภาพบกพร่อง (Health deficit)
กลุ่มภาวะวิกฤต (Crisis situation)
หลักการจัดลําดับการเยี่ยมครอบครัว
หลักความเร่งด่วน
ความต้องการหรือความจําเป็นที่ต้องให้การช่วยเหลือโดยเร็ว
มิฉะนั้นจะเกิดผลเสียแก่ผู้รับบริการหรือครอบครัว
หลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากบุคคลหนึ่ง
ไปสู่อีกบุคคลหนึ่ง หรือจากครอบครัวหนึ่งไปสู่อีกครอบครัวหนึ่ง
การแบ่งระยะการเยี่ยมครอบครัว
ระยะก่อนเยี่ยมครอบครัว
การเตรียมข้อมูล
การเตรียมตัวผู้เยี่ยม
การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือต่าง ๆ ที่จําเป็นสําหรับรายเยี่ยมหรือครอบครัวแต่ละครอบครัวและสมุดบันทึก
การจัดลําดับการเยี่ยม
การติดต่อนัดหมายกับครอบครัวที่จะเข้าเยี่ยม
ระยะเยี่ยมครอบครัว
สร้างสัมพันธภาพกับครอบครัว
เก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม
การร่วมกับครอบครัวในการระบุข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล วางแผนการพยาบาล และลงมือการ
ปฏิบัติการพยาบาล
ระยะหลังเยี่ยมครอบครัว
ทําความสะอาดอุปกรณ์และตรวจเช็คความเรียบร้อยของกระเป๋าเยี่ยม
บันทึกรายงานการเยี่ยมครอบครัว
เครื่องมือและอุปกรณ์การเยี่ยมครอบครัว
กระเป๋าเยี่ยมบ้าน
เครื่องมือที่ต้องเตรียมเฉพาะรายเยี่ยม
อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เครื่องชั่งน้ําหนัก หรือสื่อการสอนต่าง ๆ
กระบวนการพยาบาลในการเยี่ยมครอบครัว
การประเมินครอบครัว
ข้อมูลทั่วไปหรือข้อมูลพื้นฐานของครอบครัว
ข้อมูลทางด้านสังคมวัฒนธรรม
ข้อมูลสภาพแวดล้อม
โครงสร้างและหน้าที่ภายในครอบครัว
สัมพันธภาพภายในและภายนอกครอบครัว
ระยะพัฒนาการของครอบครัว
พฤติกรรมสุขภาพของครอบครัว
การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพครอบครัว
การวินิจฉัยการพยาบาลในระดับบุคคล
การวินิจฉัยการพยาบาลปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
การวินิจฉัยการพยาบาลครอบครัว (Family nursing diagnoses)
ความต้องการในการจัดการกับพัฒนาการและการเจริญเติบโตของสมาชิก
ความต้องการในการแก้ปัญหากับการเจ็บป่วยหรือการ
ความต้องการในการจัดการกับความเครียดที่เกิดจากสาเหตุ
ความต้องการในการจัดการกับความขาดแคลนทรัพยากรและการสนับสนุนที่ไม่เพียงพอ
ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกขาดประสิทธิภาพ เช่น การใช้อํานาจ หน้าที่ การตัดสินใจภายในครอบครัวไม่เหมาะสม เป็นต้น
การวางแผนดูแลสุขภาพครอบครัว
การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา
การกําหนดวัตถุประสงค์และเกณฑ์การประเมินผล
การกําหนดกิจกรรมการพยาบาล ควรมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
การปฏิบัติการพยาบาลครอบครัว เป็นการนําแผนการพยาบาลที่วางไว้ไปปฏิบัติ
การประเมินผล
การประเมินรายครั้ง (Formative evaluation) เป็นการประเมินขณะเยี่ยมครอบครัว
การประเมินสุดท้าย (Summative evaluation) เป็นการประเมินเมื่อต้องการสิ้นสุดการเยี่ยม
ครอบครัว
การบันทึกรายงานการเยี่ยมครอบครัว
วัตถุประสงค์การบันทึกรายงานการเยี่ยมครอบครัว
เก็บไว้เป็นหลักฐาน
เพื่อความต่อเนื่องของงาน
เพื่อรายงานความก้าวหน้า
เพื่อประเมินคุณภาพของการพยาบาล
เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัย
หลักการบันทึกรายงานการเยี่ยมครอบครัว
ความถูกต้อง (correct)
ความครบถ้วน (complete)
ความชัดเจน (clear)
การได้ใจความ (concise)