Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่ 1 มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสขุภาพจิตและจิตเวช - Coggle Diagram
สรุปบทที่ 1 มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสขุภาพจิตและจิตเวช
แนวคิดการเกิดโรคและปัจจัยที่มีความ
เกี่ยวข้องกับการเกิดโรค
แนวคิดการเกิดโรคทางจิตเวช มี 2 แนวคิด
stress diathesis model
เมื่อจุดอ่อนทางพันธุกรรมถูกกระตุ้นด้วยด้วย ปัจจัยบางประการหรือสถานการณ์ความเครียดก็จะกอ่ให้เกิดพฤติกรรมท่ีผดิปกติได้
case formulation
พิจารณาปัจจัย 4 ประการ (4 P’s) จากตัวผู้ป่วยและสิ่งรอบตัวผู้ป่วย ได้แก่
ปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการ (precipitating factors)
สอบตก
สัมพันธภาพล้มเหลว
การใช้สารเสพติด
ปัจจัยที่ทําให้อาการคงอยู่ (perpetuating factors)
การไม่รับประทานยาต่อเนื่อง
การไม่ยอมรับความเจ็บป่วย,
ขาดแหล่งช่วยเหลือทางสังคม
ปัจจัยเสี่ยง (predisposing factors)
ภาวะโภชนาการ
การเลี้ยงดู
พันธุกรรม
ปัจจัยปกป้อง (protective factors)
มีงานทํา
ครอบครัวมี สัมพันธภาพท่ีดี
การมีความสามารถในการแก้ไขปัญหา
ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคทางจิตเวช
1) ปัจจัยทางกายหรือชีวภาพ
(Biological factors)
การทําหน้าที่ผิดปกติของสารสื่อประสาท (Neurotransmitter) ได้แก่ dopamine, serotonin, norepinephrine, GABA, acetylcholine
ความผิดปกติของโครงสร้างและการทํางานของสมอง
พันธุกรรม (genetics)
การสะสมของสารพิษภายในร่างกาย (toxic substance alcoholism)
แอมฟตามีน
สุรา เฮโรอีน สารระเหย
ยานอนหลับ
กัญชา
ความผิดปกติที่มีมาแต่กําเนิด (congenital abnormal)
ความเจ็บป่วยหรือโรคทางสมอง
สมองอักเสบ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ชิฟิลิสขึ้นสมอง
ความผิดปกติของฮอร์โมนในร่างกาย (hormonal factor)
2)ปัจจัยทางด้านจิตใจ
(psychologicalfactors)
ปัจจัยท่ีเป็นสาเหตุจากภายในของมนุษย์
มักเป็นผลมาจากการเลี้ยงดู ความคิด ความเชื่อที่มี อยู่ในตัวมนุษย์ และประมวลมาเป็นแบบแผนของบุคลิกภาพ หรือพฤติกรรมที่ใช้ในการปรับตัวเมื่อต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆของชีวิต
3) ปัจจัยทางด้านสังคม
(social factors)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
บริเวณที่ตั้งของที่อยู่อาศัย
ลักษณะของชุมชนข้างเคียง
ความหนาแน่นของชุมขน
ความสัมพันธ์ในครอบครัว
ลักษณะการอบรมเลี้ยงดู
การศึกษา
เศรษฐกิจและสังคม
วัฒนธรรม
การเมือง
4) ปัจจัยทางจิตวิญญาณ
(spiritual factors)
สิ่งที่นับถือหรือที่พึ่งทางใจ
(concept of deity)
สิ่งที่บุคคลเลื่อมใสศรัทธา
ศาสนา
ปรัชญาชีวิต (Philosophy of Life)
การตั้งเป้าหมายชีวิต
มุมมองต่อชีวิต และต่อโลกใบนี้
สิทธิของผู้ป่วย กฎหมาย จริยธรรม
ในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
พยาบาลจําเป็นต้องยึดหลักจริยธรรม
(ethical principles) ดังนี้
ความยุติธรรมหรือความเสมอภาค
การดูแลผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมตามมาตรฐาน
เคารพในคุณค่าชีวิตและศักดิ์ศรีของผู้ป่วย
การเสียสละ
การกระทําเพื่อคนอื่นด้วยความเต็มใจ
ให้ความสําคัญกับผู้ป่วยก่อนตนเอง
ระเบียบวินัย
ควบคุมพฤติกรรมตนเองให้อยู่ในกฎระเบียบของ โรงพยาบาล
ความรับผิดชอบ
การปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มที่
ปรับปรุงงานให้ดีขึ้น
ความเอื้ออาทร
การไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย
การรับพังปัญหาส่วนตัวที่มีผลต่อสุภาพของผู้ป่วยอย่างตั้งใจ
การบอกความจริง
ต้องคำนึงถึง?
บุคลิกภาพส่วนบุคคลของผู้ป่วย
ความจำเป็น
ความพร้อมในการรับฟัง
ความสามารถในการเผชิญปัญหา
จัดกระทําภายใต้บรรยากาศ
และวิธีการบอกท่ีเหมาะสม
ความซื่อสัตย์
การเก็บของมีค่าของผู้ป่วยและคืนของให้ ผู้ป่วยอย่างครบถ้วน
การใช้วัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์จํานวนพอเหมาะเพื่อประหยัดให้กับผู้ป่วย
การรักษาความลับ
เลือดมีการติดเชื้อเอดส์
ผลการตรวจสุขภาพ
ในผู้ป่วยที่ถูกข่มขืน
เปิดเผยในกลุ่มพยาบาลผู้ปฏิบัติงานนั้น
ก็เป็นการจัดกระทําเพื่อประโยชน์ในการ
ให้การพยาบาลผู้ป่วย
การเคารพเอกสิทธิ์
การพิทักษ์คุณค่าความเป็นมนุษย์
การไม่ให้มีการล่วงละเมิดศักดิ์ศรี และความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วย
วัตุประสงค์ของพระราชบัญญัติสุขภาพจิต 2551
เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายที่
อาจเกิดข้ึนจากผู้ป่วยจิตเวช
เพื่อปกป้องคุ้มครอง ส่งเสริมและปรับปรุง
คุณภาพชีวิตและสุขภาพจิตของประชาชน
เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยธรรมชน
ของผู้ทที่มีความผิดปกติทางจิต
อาการวิทยาและเกณฑ์การจําแนกโรค
อาการและอาการแสดงจัดได้เป็น 7 กลุ่ม ดังนี้
ความผิดปกติของอารมณ์
(disturbance of emotion)
ความผิดปกติของความคิด
(disturbance of thinking)
ความผิดปกติของการพูด
(disturbance of speech)
ความผิดปกติของการรับรู้สัมผัส
(disturbance of perception)
การรับรู้ (perception)
ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว
(disturbance of motor behavior)
ความผิดปกติของความจํา
ความผิดปกติของความรู้สึกตัว
(disturbance of consciousness)
เกณฑ์การจําแนกโรคทางจิตเวชมี 2 ระบบ ดังนี้
International Classification of Disease and Related Health Problem 10 th Revision (ICD 10)
โดยใช้ระบบตัวอักษรร่วมกับตัวเลขตั้งแต่ A00 -Z99 โดยความผิดปกติ ทางจิตและพฤติกรรม (mental and behavioral disorders จะเริ่มที่ F00-F99
Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder 5 th edition (DSM V)
ประเมินผู้ป่วยใน หลายด้านแบ่งออกเป็น 5 แกน 3 แกนแรกเป็นการวินิจฉัยโรคที่เป็นทางการ ส่วน 2 แกนหลังเป็นข้อมูลส่วนที่
เพิ่มเติมใช้ในการรักษาและพยากรณ์โรค
Axis V: Highest Level of Functioning เป็นการประเมินประสิทธิภาพของการปรับตัวของผู้ป่วย อาจเป็นก่อนป่วย ขณะป่วยคร้ังน้ีหรือจําหน่ายจากโรงพยาบาล
Axis I:clinical syndromes ข้อวินิจฉัยโรคและอาการทางจิตซึ่งอาจเป็นการวินิจฉัยปัญหา
พฤติกรรม เช่น depression, schizophrenia, social phobia
Axis III: physical conditions ภาวะความเจ็บป่วยทางกายของผู้ป่วยในขณะนั้น ที่อาจเกี่ยวข้องกับสภาพการเกิดพฤติกรรมเบี่ยงเบนของพยาธิสภาพในแกนที่ 1 และ 2 เซ่น brain injury หรือ HIV/AIDS
Axis II: developmental disorders and personality disorders ความผิดปกติด้าน
พัฒนาการและความบกพร่องทางปัญญาหรือปัญญาอ่อน
Axis IV: severity of psychosocial stressors ปัญหาจากจิตสังคม หรือสิ่งรอบตัวที่มีส่วนสําคัญในการก่อให้เกิดโรคหรือทําให้โรคกําเริบ โดยเฉพะในช่วงอดีตที่ผ่านมาไม่นานนัก เช่น การตกงาน การ สอบตก ท่ีมีผลกระทบต่ออาการทางจิตในแกนท่ี 1 และ 2