Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคข้อเข่าเสื่อม - Coggle Diagram
โรคข้อเข่าเสื่อม
-
การบริหารกล้ามเนื้อ
1.ท่ายืดกล้ามเนื้อหลังต้นขาและน่อง
- ผู้ป่วยนั่งบนพื้น ขาเหยียดตรง
- ใช้ผ้าคล้องที่ฝ่าเท้าออกแรงดึงเข้าหาตัวค้างไว้ 15-20 วินาที
- ทำซ้ำ 10-15 ครั้ง/รอบ ทำ 3-4 รอบ/วัน
2.การบริหารกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้าบนเตียง
- ผู้ป่วยนอนหงายบนเตียง ม้วนผ้าขนหนูรองใต้เข่า
- ออกแรงเกร็งกล้ามเนื้อหน้าขาพอประมาณให้เข่าเหยียดตรงเกร็งค้าง 5 วินาที
- ทำซ้ำ 10-15 ครั้ง 3-4 รอบต่อวัน
3.การบริหารกล้ามเนื้อต้นขาด้านข้างบนเตียง
- ให้ผู้ป่วยนอนตะแคง
- ขาด้านล่างงอเข่า ขาด้านบนเหยียดตรงหลังตรง
- ผู้ป่วยออกแรงเกร็งกางขาด้านบนขึ้นพอประมาณค้างไว้ 5 วินาทีแล้วหุบขาลงทำซ้ำ 10 ครั้ง/รอบ
4.การบริหารกล้ามเนื้อสะโพกและต้นขาด้านใน
- ผู้ป่วยนอนหงายชันเข่า 2 ข้าง
- ผู้ป่วยออกแรงเกร็งยกก้นขึ้นพ้นพื้นเล็กน้อยพร้อมกับหุบขาสองข้างหนีบผ้าหรือหมอนค้างไว้ 5 วินาทีแล้วเอาก้นลง
- ทำซ้ำ 10 ครั้งต่อรอบ ทำวันละ 3-4 รอบ
5.การบริหารกล้ามเนื้อสะโพกและต้นขาด้านหน้า/ด้านหลัง
- ให้ผู้ป่วยนอนหงาย ชันเข่า 2 ข้าง -ให้ผู้ป่วยกดส้นเท้าติดเตียงสลับ งอ
- เหยียดเข่าขวา-ซ้ายช้าๆลงน้ำหนัก 15-30 % เท่าที่ทำได้
- ทำซ้ำ 10 ครั้ง/รอบ ทำวันละ 3-4 รอบ
6.การบริหารกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้าในท่านั่ง -ให้ผู้ป่วยนั่งที่เก้าอี้หรือเตียงเท้า 2 ข้างแตะถึงพื้น
- ออกแรงเกร็งกล้ามเนื้อขาพอประมาณให้เข่าเหยียดตรงทำสลับซ้ายขวาค้างไว้ประมาณ 5 วินาที แล้วคลายกล้ามเนื้อทำซ้ำ 10 ครั้ง/รอบ วันละ 3-4 รอบ
7.การบริหารกล้ามเนื้อสะโพกและต้นขาด้านหน้าทั้งสองขาในท่ายืน
- ให้ผู้ป่วยยืนตรง มือสองข้างจับพนักเก้าอี้หรือโต๊ะไว้
- กางขาสองข้างพอประมาณแล้วย่อเข่าสองข้างลงเล็กน้อยช้าๆค้างไว้ 5 วินาที แล้วเหยียดเข่ามาท่ายืนตรง
- ทำซ้ำ 10 ครั้ง/รอบ วันละ 3-4 รอบ
-
สาเหตุ
-
-
-
-
5.การได้รับบาดเจ็บ ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บบริเวณข้อเข่าอาทิเช่น หกล้มเข่ากระแทก รถชนเข่ากระแทกถนนอาจทำให้เกิดข้อเข่าเสื่อมได้
-
การพยาบาล
หลังผ่าตัด
1.ตรวจสอบระดับความรู้สึกตัวและบันทึดสัญญาณชีพทุกๆ 15 นาที 4 ครั้ง ทุกๆ 30 นาที 2 ครั้ง ทุกๆ 1 ชั่วโมงหรือจนกว่าชีพจรจะคงที่
2.จัดท่าข้อเข่าข้างที่ได้รับการผ่าตัดโดยให้มีหมอนหรือผ้าม้วนมาลองใต้ขาเพื่อป้องกันอาการปวดบวมและเพื่อให้เลืดไหลเวียนได้สะดวก
-
-
-
-
-
-
ก่อนผ่าตัด
-
-
3.ประเมินสภาพจิตใจ อารมณ์ของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลที่บ้านรวมทั้งความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวัน เตรียมร่างกายทั่วไปดูแลความสะอาดผิวหนังเฉพาะที่
4.ประเมินสัญญาณชีพเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานดูแลให้ได้รับสารอาหารและสารน้ำอย่างเพียงพอ เตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันการสำลักอาหารงดน้ำงดอาหารก่อนผ่าตัด
-
-
กลไกการเกิด
การที่กระดูกอ่อนของข้อมีการเสื่อมสภาพทำให้กระดูกอ่อนไม่สามารถเป็นเบาะรองรับน้ำหนัก และมีการสูญเสียคุณสมบัติของ น้ำ หล่อเลี้ยงเข่า เมื่อมีการเคลื่อนไหวของเข่าก็จะเกิดการเสียดสีและเกิดการสึกหรอของกระดูก อ่อน ผิวของกระดูกอ่อนจะแข็งผิวไม่เรียบ เมื่อเคลื่อนไหวข้อเข่าก็จะเกิดเสียงดังในข้อเกิดอาการเจ็บปวด หาก ข้อเข่าที่เสื่อมมีการอักเสบก็จะมีการสร้างน้ำข้อเข่าเพิ่มทำให้เกิดอาการ บวม ตึงและปวดของข้อเข่า เมื่อมีการเสื่อมของข้อเข่ามากขึ้นข้อเข่าก็จะมีอาการโก่งงอทำให้เกิดอาการ ปวดเข่าทุกครั้งที่มีการเคลื่อนไหว และขนาดของข้อเข่าก็จะมีขนาดใหญ่ขึ้น ในที่สุดผู้ป่วยต้องใช้เท่าช่วยเดินหรือบางคนจะเดินน้อยลงทำให้กล้ามเนื้อ ต้นขาลีบลงข้อจะติดเหมือนมีสนิมเกาะเหยียดขาได้ไม่สุด