Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gestational Diabetes Mellitus เบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
Gestational Diabetes Mellitus เบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์
ความหมาย
ภาวะที่มีความผิดปกติของความทนต่อกลูโคส โดยได้รับการวินิจฉัยเป็นครั้งแรกขณะตั้งครรภ์ จะตรวจพบว่ามีความผิดปกติของ Carbohydrate metabolism
พยาธิสรีรวิทยา
Human placental lactogen (hPL)+ไขมัน----> Insulin resistance
การคัดกรองและวินิจฉัย
Universal Screening GA 24-28 weeks
การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ในกลุ่มสตรีที่มาฝากครรภ์ตั้งแต่ครั้งแรกที่เข้ารับการฝากครรภ์(Potential diabetes)
Potential diabetes (กลุ่มความเสี่ยงต่ำ)
ไม่จำเป็นต้องตรวจคัดกรองทุกราย
อายุ < 25 ปี ไม่มีประวัติญาติสายตรงเป็นโรคเบาหวาน
กรณีศึกษาอายุ 21 ปี
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ
น้ำหนักแรกคลอด อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ไม่มีประวัติการเผาผลาญกลูโคสผิดปกติ
Potential diabetes (กลุ่มความเสี่ยงปานกลาง)
ประวัติครอบครัวเป็นเบาหวาน
อายุ >30 ปี
ตรวจคัดกรองด้วย 50 g GCT
กรณีศึกษาได้รับการตรวจคัดกรองด้วย 50 g GCT = 110
กรณีศึกษาได้รับการตรวจคัดกรองด้วย 50 g GCT ครั้งที่ 2 = 148
Potential diabetes (กลุ่มความเสี่ยงสูง)
อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 35 ปี มีญาติสายตรงเป็นเบาหวาน
มีภาวะอ้วน (BMIก่อนตั้งครรภ์ > 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร)
กรณีศึกษา BMI 31.98
เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ มีประวัติเป็น PIH/Chornic hypertension
ประวัติทางสูติศาสตร์ผิดปกติ แท้งบุตร 3 ครั้ง ทารกพิการแต่กำเนิด ครรภ์แฝดน้ำ เคยคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4000 กรัม
กรณีศึกษาเคยมีประวัติคลอดบุตรน้ำหนัก 4100 กรัม
ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ 2+ หรือ 1+ ติดต่อกันสองครั้ง
ในกลุ่มความเสี่ยงสูงจะตรวจคัดกรองด้วย 50 g GCT ทันทีโดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์ หากผลผิดปกให้ตรวจคัดกรองด้วย 50 g GCT ซ้ำอีกครั้งในช่วงอายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์
กรณีศึกษาได้รับการตรวจคัดกรองด้วย 50 g GCT ครั้งที่ 2 = 148
เกณฑ์การวินิจฉัย
การคัดกรองเบาหวาน 50 g
GCT ผลตรวจ > 140 mg/dl
วินิจฉัยต่อด้วย OGTT
การทดสอบทางปาก OGTT
ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตวันละอย่างน้อย 150 กรัม นาน 3 วัน
จากนั้นให้อดอาหารตลอดคืนประมาณ 8 ชั่วโมง แต่ไม่ควรเกิน 14 ชั่วโมง
เช้าวันรุ่งขึ้น เจาะเลือดหาระดับน้ำตาล (Fasting plasma sugar)
จากนั้นให้รับประทานกลูโคส 100 กรัม ผสมน้ำอย่างน้อย 400 ซีซี ภายในเวลา 5 นาที
เจาะเลือดเพื่อหาน้ำตาลเมื่อครบ 1, 2 และ 3 ชั่วโมง หลังรับประทานกลูโคส
การแปลผล
ก่อนรับประทานกลูโคส ตั้งแต่ 105 mg
หลังรับประทานกลูโคส 1 ชั่วโมง ตั้งแต่ 190 mg
หลังรับประทานกลูโคส 2 ชั่วโมง ตั้งแต่ 165 mg
หลังรับประทานกลูโคส 3 ชั่วโมง ตั้งแต่ 145 mg
ค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 2 ค่า แปลผลเป็น GDM
กรณีศึกษา
ผลตรวจ 80, 198, 116, 165
GDMA1
Fasting plasma glucose < 105 mg
2 hours pospandial < 120 mg
กรณีศึกษา
ผลตรวจ 80, 198, 116, 165
ค่า FBS < 105
ค่า 2hrpp < 120
GDMA2
Fasting plasma glucose ตั้งแต่ 105 mg
2 hours pospandial ตั้งแต่ 120 mg
กรณีศึกษา
ผลตรวจครั้งแรก 110 mg
ผลตรวจครั้งที่สอง 148 mg
GCT ผลตรวจ < 140 mg/dl
ตรวจคัดกรองอีกครั้งตอนอายุครรภ์ 24 - 28 Wk
การรักษา
หลักในการดูแลรักษาสตรีที่เป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ คือ การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฎ์ปกติหรือใกล้เคียงคลอดการตั้งครรภ์ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆและไม่ให้ทารกตัวโตเกินไป แนวทางการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด คือการควบคุมอาหาร การรักษาด้วยอินซุลินและการออกกำลังกาย
อาการและอาการแสดง
Hypoglycemia
เหงื่อออกมาก
ตัวเย็น ใจสั่น
อาจหมดสติ
Hyperglycemia
กระหายน้ำ
หิวบ่อย
ปัสสาวะบ่อย
เหนื่อยอ่อนเพลีย
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์
การแท้งบุตร (Spontaneous abortion)
ภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ (Preeclampsia)
Hypoglycemia
Diabetic ketoacidosis
Preterm labor and preterm birth
Polyhydramios
Infection
Postpartum hemorrhage
Dystocia
ต่อทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำแรกเกิด
ภาวะตายคลอด
ทารกตัวโต (Macrosomia)
ปอดเจริญเติบโตช้า (Delayed lung maturity)
ทารกพิการแต่กำเนิด (Congenital malformatic)
ภาวะบิลิรูบินในเลือดสูงเกิดอาการตัวเหลือง