Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ฟื้นฟูและการดูแลผู้ใหญ่,…
การพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ฟื้นฟูและการดูแลผู้ใหญ่
ตา eye
คือ
เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ในการมองเห็น ลูกตามีอยู่สองข้างอยู่ภายในเบ้าตา
มีรูปร่างค่อนข้างกลมขนานเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 24 มิลลิเมตร
ประกอบด้วย3ชั้น ได้แก่
3.ชั้นใน
จอประสาทตา (Retina)
แก้วตา (Lens)
วุ้นตา (Vitreous)
2.ชั้นกลาง มีหลอดเลือดจำนวนมาก
Ciliary body เป็นส่วนหน้าสุดของ choroid ช่วยรักษาความดันในลูกตาให้คงที่
ม่านตา (Iris) ควบคุมปริมาณแสงเข้า
สู่ตาโดยการหดยืดของม่านตา
Choroid เป็นเยื่อบาง ๆ อยู่
ระหว่าง sclera กับจอตา
1.ชั้นนอก เป็นชั้นของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
เปลือกลูกตา (Sclera) ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อชั้นในผนังลูกตา
กระจกตา (Cornea) ช่วยในการโฟกัสภาพ
การตรวจตา
การคลำลูกตาเพื่อประเมินความนุ่นหากสัมผัสแล้วแข็งบ่งบอกภาวะความดันในลูกตาสูง
ดูว่าบวมช้ำเป็นก้อนเป็นหนองหรือไม่ มีการดึงรั้งของหนังตา เปลือกตาตกถ้าพบแสดงว่ากล้ามเนื้อลูกตาเสีย
ต้อหิน (glaucoma)
สาเหตุ
2.ความผิดปกติของ trabecular meshwork ตั้งแต่กำเนิด
3.มีความเสื่อมของเนื้อเยื่อภายในลูกตา
1.มีการคั่งของน้ำเอเควียสจากมีโครงสร้างตาผิดปกติ
4.การใช้ยาที่มีสารฮอร์โมนพวกคอร์ติโคสเตียรอยด์ติดต่อเป็นเวลานาน
5.มีต้อกระจกสุกหรือต้อกระจกสุกงอม
6.เนื้องอกในลูกตา
7.อุบัติเหตุในตา
ชนิดและอาการของโรคต้อหิน แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
ต้อหินทุติยภูมิ (Secondary glacoma)
เป็นต้อหินที่เกิดขึ้น
เนื่องจากมีความผิดปกติภายในลูกตา
ต้อหินแต่กำเนิด (Congenital glacoma)
ต้อที่เกิดจากมี
development anormalies อาจเป็นแบบ
เฉียบพลันหรือเรื้อรัง
ต้อหินปฐมภูมิ (Primary glacoma)
ต้อหินชนิดมุมเปิด (open – angle glacoma)
ต้อหินชนิดมุมปิด (angle – closure glacoma)
คือ
กลุ่มโรคที่มีลักษณะร่วม ได้แก่ มีความดันในลูกตา (IOP) มีขั้วตาผิดปกติ และสูญเสียลานสายตา (visual field) ร่วมด้วย
อาการและอาการแสดง
ต้อหินระยะเฉียบพลัน
มีอาการปวดศีรษะมาก ปวดตามากสู้แสง
ไม่ได้ ตามัวลงคล้ายหมอกมาบัง บางคนมองเห็นแสงสีรุ้งรอบ ๆ ดวงไฟ
การรักษา
ต้องรีบรักษาเพื่อลดความดันในลูก
ตาให้ลงสู่ระดับปกติ แพทย์มักให้ยาหยอดตา และยารับประทานทางปากหรือยาฉีด
ต้อหินระยะเรื้อรัง
ความดันของลูกตาสูงขึ้นเล็กน้อย ผู้ป่วยอาจไม่
รู้สึกอาการอะไรเลยบางคนรู้สึกมึนศีรษะ ตาพร่ามัว รู้สึกเพลียตา ไม่มีอาการปวด
การรักษา
แพทย์จะให้รักษาเพื่อมิให้ยาหยอดตาและยา
รับประทาน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
2.เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากตามัว
3.ขาดความรู้ก่อนและหลังการยิงเลเซอร์ (Laser trabeculoplasty)
1.ขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเมื่อเป็นต้อหิน
4.ผู้ป่วยมีภาวะความดันในลูกตาสูงขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยต้อหิน
1.อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษา
2.การเตรียมตัวก่อนการยิงเลเซอร์ เวลายิงจะไม่รู้สึกเจ็บภายใน 24
ชั่วโมงแรก หลังยิงเลเซอร์อาจมีอาการปวดศีรษะหรือตามัวลงเล็กน้อย
3.หากมีอาการ ตาแดง น้ำตาไหล ปวดตามาก ตามัวลง หรือตาสู้แสงไม่ได้ให้มาตรวจก่อนวันนัด
4.สอนวิธีการหยอดตาอย่างมีประสิทธิภาพ
5.แนะนำให้ใส่แว่น หลีกเลี่ยงการขยี้ตา หลังทำเลเซอร์
ต้อกระจก (cataract)
คือ
เป็นภาวะแก้วตา (Lens) ขุ่น ไม่ยอมให้แสง
ผ่าน ทำให้เกิดอาการตามัว มองเห็นภาพไม่ชัดเจน
สาเหตุ
1.การเสื่อมตามวัย (Senile cataract) วัยชรา
3.ต้อกระจกที่สุกเกินไป (hypermature cataract)
ระยะนี้ทำผ่าตัดค่อนข้างยาก
2.ต้อกระจกที่สุกแล้ว (mature cataratc)
ระยะนี้เหมาะสมกับการผ่าตัดมากที่สุด
1.ต้อกระจกที่ยังไม่สุก (immature cataratc)
ทำให้ยังคงมองเห็นอยู่บ้าง โดยทั่วไปคิดว่าเป็นอาการที่ปกติของผู้สูงอายุ
2.ความผิดปกติโดยกำเนิด (Congenital cataract)
3.เกิดจากสาเหตุอื่น ๆ (Secondary cataract)
อาการและอาการแสดง
1.ตามัว
2.มองเห็นภาพซ้อน
3.รู้สึกว่าสายตาสั้นลง
4.มองผ่านรูม่านตา (pupil) จะเห็นแก้วตาขุ่นเมื่อส่องดูด้วยไฟฉาย
การรักษา
การผ่าตัดเอาแก้วตา ที่ขุ่นออก ซึ่งเรียกว่า ลอกต้อกระจก
ชนิดของการผ่าตัด
1.Intracapsular cataract extraction (IICE)
การผ่าตัดนำแก้วตาที่ขุ่นพร้อมทั้งเปลือกหุ้มเข้าตาทั้งหมดในเวลาเดียวกัน
2.Extracapsular cataract extraction (ECCE)
การผ่าตัดเอาแก้วตาที่ขุ่นออกพร้อมทั้งเปลือกหุ้มเข้าตาด้านหน้า
3.Phacoemulsification with Intraocular Lens (PE C IOL)
การผ่าตัดต้อกระจกโดยใช้คลื่นเสียงหรืออัลตราซาวด์ที่มีความถี่สูงเข้าไป
สลายเนื้อแก้วตาแล้วดูดออกมาทิ้ง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
2.วิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการผ่าตัดและการดูแลตนเองก่อนผ่าตัด
3.ปวดตาเนื่องจากมีการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อหลังผ่าตัดตา
1.เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากตามัว
4.เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากพร่องความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวที่
ถูกต้อง
5.มีความพร่องการดูแลตนเองเนื่องจากถูกปิดตา
6.เสี่ยงต่อการเกิดแผลเย็บฉีกขาดความดันตาสูงและเลือดออกในช่องหน้าม่านตา
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดต้อกระจก
2.หลีกเลี่ยงการไอจามแรง ๆ การก้มศีรษะต่ ากว่าระดับเอว
3.การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยทุกครั้งต้องระมัดระวังการกระทบกระเทือนบริเวณดวงตาและศีรษะ
1.จัดท่านอนให้ผู้ป่วยไม่นอนทับบริเวณตาที่ได้รับการผ่าตัด
4.รับประทานอาหารอ่อนงดอาหารแข็งเหนียวที่ต้องออกแรงเคี้ยวจนกว่าแผลจะหายประมาณ 2 สัปดาห์
5.ห้ามเบ่งถ่ายอุจจาระ
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดต้อกระจก (เมื่อกลับบ้าน)
3.หลีกเลี่ยงอาหารแข็ง เหนียวที่ต้องออกแรงเคี้ยวมาก ไม่ควรท้องผูก
4.หลีกเลี่ยงยกของหนักมากกว่า 5 kg
2.ค่อย ๆ แปรงฟันไม่สั่นศีรษะไปมา
5.ไม่ควรใช้สายตานานเกิน 1 ชั่วโมง
1.ระวังอย่าให้น้ ากระเด็นเข้าตา
6.เน้นกลางคืนปิดฝาครอบตา กลางวันใส่แว่นตาสีชาหรือสีดำ
จอประสาทตาลอก Retinal Detachment
คือ
ภาวะที่เกิดการแยกหรือลอกตัวของชั้นจอประสาทตาด้านในออกจากชั้นของจอประสาทตาด้านนอก
สาเหตุ
1.มีการเสื่อมของจอประสาทหรือน้ าวุ้นตา (vitreous)
2.การผ่าตัดเอาแก้วตาออกชนิด intracapsular cataract extractionได้ถึงร้อยละ 10-20
3.การได้รับอุบัติเหตุถูกกระทบกระเทือนบริเวณที่ตา หรือของแหลมทิ่มแทงเข้าตาถึงชั้นของจอประสาทตา
แบ่งได้3ชนิด ได้แก่
2.จอประสาทตาลอกชนิดที่เกิดจากการดึงรั้ง (Tractional retinal detachment)
3.จอประสาทตาลอกชนิดไม่มีรูขาดที่จอประสาทตา (Nonrhegmatogenous retinal detachment or exudative retinal detachment)
1.จอประสาทตาลอกชนิดที่เกิดจากรูหรือรอยฉีกขาดที่จอประสาทตา(Rhegmatogenous retinal detachment)
อาการและอาการแสดง
มีอาการมองเห็นแสงจุดด าหรือเส้นลอยไปลอยมา (floater) มองเห็นแสงวูบวาบคล้ายฟ้าแลบ (flashes of light)
การรักษา
2.การฉีดก๊าซเข้าไปในตา (Pneumatic retinopexy)
3.การผ่าตัดหนุนจอประสาทตา (Scleral buckling)
1.Cryocoagulation (การจี้ด้วยความเย็น)
4.การผ่าตัดน้ าวุ้นลูกตา (Pars plana vitrectomy)
หากพบว่ามองเห็นแสงวาบคล้ายฟ้าแลบหรือแสงแฟลชถ่ายรูป ควรรีบพบจักษุแพทย์เพื่อท าการรักษา
การพยาบาล
2.ระยะหลังผ่าตัด
1.ดูแลให้ได้รับการวัดความดันลูกตาจากแพทย์หลังผ่าตัดประมาณ 4-6 ชั่วโมง
2.ประเมินอาการเริ่มต้นของภาวะความดันลูกตาสูง
3.ดูแลให้นอนคว่ำหน้าหรือนั่งคว่ำหน้าให้ได้อย่างน้อยวันละ 16ชั่วโมง
ควรให้การสนับสนุนด้านกำลังใจและให้
ข้อมูลเกี่ยวกับแผนการรักษาเป็นระยะ
5.ดูแลให้รับประทานอาหารอ่อนเพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนจากการออกแรงเคี้ยวอาหาร
6.ประเมินอาการท้องผูก
การพยาบาล (เมื่อกลับบ้าน)
ควรทำความสะอาดใบหน้าโดยใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำบิดหมาด ๆ เช็ดหน้าเบา ๆ เฉพาะข้างที่ไม่ได้ผ่าตัด
หลังการผ่าตัด 2 เดือนแรก ควรหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่หักโหม
1.ระยะก่อนผ่าตัด
2.แนะนำผู้ป่วยหลีกเลี่ยงขยี้ตา ส่ายศีรษะและใบหน้าแรง การอาเจียน
3.แนะนำผู้ป่วยห้ามก้มหน้า
1.ดูแลให้ผู้ป่วย Absolute bed rest
4.ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค แผนการรักษา การผ่าตัด ให้ผู้ป่วยทราบเพื่อลดความวิตกกังวล
อุบัติเหตุทางตา eye injury
ชนิดของสารเคมีที่พบ
1.สารด่าง
2.สารกรด
อาการและอาการแสดง
2.การมองเห็นจะลดลงถ้าสารเคมีเข้าตาจ านวนมาก
3.สายตาสู้แสงไม่ได้ ท าให้ผู้ป่วยพยายามจะหลับตาตลอดเวลา(blepharospasm)
1.ปวดแสบปวดร้อนระคายเคืองตามาก
อันตรายจากสารเคมี(chemical injury)
การรักษา
เมื่อมาถึงโรงพยาบาลจะได้รับการล้างตาให้โดยทันที
3.หากเกิดภาวะ corneal abrasion อาจได้รับการป้ายยา
terramycin ointment
การรักษาที่สำคัญที่สุดคือการล้างตาโดยเร็วที่สุด
4.การรักษาด้วยการใช้ยาขึ้นกับความรุนแรงที่เกิดขึ้น
5.การรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
1.ล้างตาให้ผู้ป่วยโดยเร็วที่สุด
2.ดูแลบรรเทาอาการปวดกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการปวดตามาก
เลือดออกในช่องหน้าม่านตา hyphema
เกิดจาก
การได้รับบาดเจ็บจากวัตถุไม่มีคมบริเวณตา ทำให้มีการฉีกขาดของเส้นเลือดบริเวณม่านตา
ภาวะแทรกซ้อน
2.Increase intraocular pressure
3.Blood stain cornea
1.Rebleeding
การรักษา
1.Absolute bed rest โดยให้นอนศีรษะสูงประมาณ 30-45 องศา เพื่อป้องกันการเกิด blood stain
2.ปิดตาทั้งสองข้างเพื่อให้ได้พักผ่อนลดโอกาสการเกิด rebleeding
3.อาจได้รับยา สเตียรอยด์หยอดเพื่อช่วยป้องกันการเกิด rebleeding
4.ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวด paracetamol และ diazepam เพื่อให้ได้พักผ่อนและประเมินอาการปวดตาแต่หากเลือดไม่ถูกดูดซึม
5.เมื่อครบ 5-7 วันก็สามารถให้ผู้กลับบ้านได
การพยาบาล
2.ปิดตาทั้ง 2 ข้างที่มีเลือดออกด้วยผ้าปิดตา (eye pad) และที่ครอบตา (eye shield) ไขหัวเตียงสูง 30-45 องศา
3..เช็ดตาให้ผู้ป่วยทุกวันในตอนเช้าพร้อมทั้งประเมินว่ามีภาวะเลือดออกเพิ่มขึ้นหรือไม
1.แนะนำให้ผู้ป่วยนอนนิ่งๆ ไม่ควรลุกจากเตียงประมาณ 3 – 5วัน
4.ถ้าผู้ป่วยปวดตาต้องติดตามประเมินอาการปวดตาของผู้ป่วยภายหลังรับประทานยาแก้ปวดแล้ว 30 นาที
ความผิดปกติของจอประสาทตาจากโรคเบาหวาน diabetic retinopathy
ปัจจัยที่ท าให้เกิดความผิดปรกติของจอประสาทตาจากโรคเบาหวาน
3.การมีความผิดปกติที่ไตจากเบาหวาน
4.ความดันโลหิตสูง
2.การควบคุมระดับน้ าตาล
5.โรคไขมันในเลือดสูง
1.ความยาวนานของการเป็นโรคเบาหวาน
6.การตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
เบาหวานขึ้นตาแบ่งได้กว้างเป็น 2 ระยะ
1.เบาหวานระยะแรก (Non-Proliferation diabetic
retinopathy=NPDR)
2.เบาหวานระยะรุนแรง (Proliferation diabetic
retinopathy=PDR)
การรักษา
2.การฉีดยาเข้าในน้ าวุ้นตา (Intravitreal pharmacologic injection)
3.การผ่าตัดน้ าวุ้นตา (Vitrectomy)
1.การรักษาด้วยการยิงเลเซอร์ (Panretinal
photocoagulation=PRP)
การพยาบาล
2.ดูแลแนะน าให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
3.ออกกำลังกาย
1.แนะนำให้ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลให้คงที่ เพื่อลดอัตราการเกิดความผิดปรกติของจอประสาทตาจากโรคเบาหวาน
แผลที่กระจกตา Corneal ulcer
สาเหต
4.ตาปิดไม่สนิทขณะหลับ (Lagophthalmos)
5.ความผิดปกติบริเวณหนังตา
3.มีความผิดปกติของกระจกตา
6.โรคทางกายที่ท าให้ภูมิคุ้มกันทั้งร่างกายบกพร่องลง
2.กระจกตามีภูมิต้านทานต่อเชื้อโรคต่ำ
7.การใส่เลนส์สัมผัส (Contact lens)
1.อุบัติเหตุ (trauma)
อาการและอาการแสดง
3.กลัวแสง (photophobia)
4.น้ำตาไหล (lacrimation)
2.เคืองตา (foreign body sensation)
5.ตาแดงแบบใกล้ตาดำ
(ciliary injection)
1.ปวดตา (pain)
6.ตาพร่ามัว (blur vision)
กระจกตาขุ่น (hazy cornea)
8.อาจพบหนองในช่องหน้าม่านตา
การรักษา
2.กำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดแผลบริเวณกระจกตาที่เป็นสาเหตุอื่น
3.ส่งเสริมให้เกิดการแข็งแรงของร่างกาย
1.หาเชื้อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
4.บรรเทาอาการปวดโดยให้รับประทานยาแก้ปวด paracetamol
การพยาบาล
หยอดตาตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด
แนะนำผู้ป่วยห้ามขยี้ตา อย่าให้น้ำเข้าตา
เช็ดตาวันละ 1-2 ครั้ง
5.ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนและได้รับอาหารที่เพียงพอ
แยกเตียง ของใช้ และยาหยอดตาของผู้ป่วยใช้เป็นส่วนตัว
6.ตรวจเยี่ยมผู้ป่วยสม่ำเสมอ
หู ear
1.หูชั้นนอก external ear
รูหู
แก้วหู
ใบหู
2.หูชั้นกลาง
กระดูกทั่ง incus
กระดูกโกลน stapes
กระดูกค้อน malleous
3.หูชั้นใน
Bony labyrinth
Membranous labyrinth
กลไกการได้ยิน
ทางแรกคือการได้ยินเสียงผ่านทางอากาศ
(Air conduction pathway)
ทางที่สองคือการได้ยินเสียงผ่านกระดูก
(bone conduction pathway)
การตรวจวินิจฉัยความผิดปกติของหู
การตรวจร่างกาย
ตรวจหูภายนอก
ตรวจช่องหู
ตรวจดูเยื้อแก้วหู
ตรวจพิเศษอื่นๆ เช่น CT scan ,MRI
ตรวจหูแล้วไม่พบสิ่งผิดปกติ ให้ตรวจศีรษะและคอ
นัดตรวจซ้ำเป็นระยะ
การตรวจพิเศษด้วยเครื่องมือ
ตรวจโดยการใช้คำพูด
Speech Reception Threshold (SRT)
Speech Discrimination
การทดสอบการได้ยิน
Tuning fork test
Audiometry
การซักประวัติผู้ป่วย
2.มีของเหลวไหลจากหู
3.อาการหูอื้อ ได้ยินเสียงลดลง
1.อาการปวดหู
4.มีเสียงดังในหู
5.มีอาการเวียนศีรษะ
การตรวจ Vestibular Function Test
Gait Test
Unterberger's Test
Romberg's Test
ตรวจดู Nystagmus คืออาการตากระตุก
การสูญเสียการได้ยิน hearing loss
ผู้ป่วยมีปัญหาในการฟัง หูอื้อ ได้ยินไม่ชัด หรือมีเสียงดังในหู
ประเภทของการสูญเสียการได้ยิน
2.การสูญเสียการได้ยินแบบประสาทหูเสื่อม
(Sensorineural Hearing Loss; SNHL)
3.การรับฟังเสียงบกพร่องแบบผสม (Mixed Hearing Loss)
1.การสูญเสียการได้ยินแบบการนําเสียงทางอากาศบกพร่อง
(Conductive Hearing Loss; CHL)
4.ความบกพร่องที่สมองส่วนกลาง (Central Hearing Loss)
สาเหตุการสูญเสียการได้ยินที่พบบ่อย
2.ประสาทหูเสื่อม (Sensorineural Hearing Loss; SNHL)
ประสาทหูเสื่อมที่เป็นตั้งแต่กําเนิด
(Congnital Sensorineural Hearing Loss)
ประสาทหูเสื่อมที่เกิดภายหลัง
(Acquired Sensorineural Hearing Loss)
1.การนําเสียงทางอากาศบกพร่อง
(Conductive Hearing Loss; CHL)
การวินิจฉัย
การซักประวัต
อาการร่วม
ประวัติในอดีต
อาการนํา
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางระบบประสาท
การตรวจการได้ยินด้วยส้อมเสียง (Tuning fork)
การตรวจทางร่างกายทางหู คอ จมูก
โรคที่พบบ่อยจากการได้ยินและการทรงตัว
โรคหูชั้นกลาง
หูชั้นกลางอักเสบเรื้อรัง Chronic Otitis media
อาการ
เยื่อแก้วหูทะลุ หูอื้อ มีของเหลวไหล
การรักษา
ให้ยาปฎิชีวนะ ยาแก้ปวด
การผ่าตัดนำออก
สาเหตุ
รักษาไม่หายของหูชั้นกลางอักเสบ
โรคหินปูนเกาะฐานกระดูกโกลน Otosclerosis
อาการ
หูอื้อ
พยาธิสภาพ
มีการเพิ่มของ Osteoblastic
สาเหตุ
อาจเกิด measle virus
การรักษา
ใช้เครื่องช่วยฟัง
การดูแลผู้ป่วยก่อนหลังผ่าตัดบริเวรกระดูกหูและกระดูก mastoid
ห้ามก้มมากๆ และยกของหนัก
ห้ามสั่งน้ำมูก2-3สัปดาห์หลังผ่าตัด
นอนราบตะแคงข้างที่ไม่ได้ผ่าตัด
ดูแลอย่าให้น้ำเข้าหู
โรคหูน้ำหนวก Otitis media
Acute Otitis media มีน้ำหนวกเกิดขึ้นในเวลาสั้นๆ
การรักษา
การรักษาทางยา
การทำ Myringostomy
การพยาบาล
ห้ามน้ำเข้าหู
ถ้ามีหนองไหลให้ใช้สำลีเช็ด
หลังทำแนะนำห้ามแคะจมูก
สาเหตุ
เพดานโหว่
เด็กที่ถูกเลี้ยงดูด้วยนมขวด
ท่อยูสเตเซียนอุดตัน
เนื้องอกบริเวรช่องหลังโพรงจมูก
เป็นหวัด คัดจมูก
ขณะเครื่องบินลง เกิดภาวะ Barotrauma
Serous Otitis media ภาวะหูน้ำหนวกที่มีน้ำใสขังค้าง
Chronic Otitis media ภาวะหูน้ำหนวกที่เกิดซ้ำๆเวลานาน
Adhesive Otitis media ภาวะหูน้ำหนวกที่เกิดเป็นนานๆ
โรคหูชั้นใน
โรคหินปูนในหูชั้นในหลุด BPPV
อาการ
เวียนศีรษะ บ้านหมุน
การวินิจฉัย
เปลี่ยนแปลงท่าทางของศรีษะ
สาเหตุ
จากความเสื่อมตามวัย และอุบัติเหตุทางศีรษะ
การรักษา
ทำกายภาพบำบัด
ผ่าตัด
รักษาด้วยยา
โรคหูชั้นนอก
ขี้หูอุดตัน (Cerum Impaction or Impacted Cerumen)
พยาธิสภาพ
ขี้หูถูกสร้างโดยต่อมสร้างขี้หูซึ่งอยู่ในช่องหูส่วนกระดูกอ่อน
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ ปวดหู
สาเหตุ
ขี้หูสามารถอุดตันอยู่ในส่วนของช่องหูชั้นนอก
การรักษา
โดยการล้าง ใช้เครื่องดูดหรือการใช้เครื่องมืออื่นๆช่วย
สิ่งแปลกปลอมในหูชั้นนอก (Foreign body)
อาการและอาการแสดง
หูอื้อ รําคาญ สูญเสียการได้ยิน
การรักษา
เป็นสิ่งมีชีวิตใช้แอลกฮอล์70% หรือยาหยดประเภทน้ํามัน
หยอดลงไป แล้วคีบออก
เป็นสิ่งไม่มีชีวิต ใช้น้ําสะอาดหรือเกลือปราศจาก
เชื้อหยอดจนเต็มหูแล้วเทน้ําออกหรือใช้ที่ล้างหูช่วย
สาเหตุ
ในเด็กเล็กมักพบของเล่นชิ้นเล็ก ลูกปัด หรือเมล็ดผลไม้ เด็กยัดใส่ รูหู
ส่วนในผู้ใหญ่มัก
พบเป็นเศษชิ้นส่วนของไม้พันสําลีหรือพวกแมลง
เยื่อแก้วหูฉีกขาดเป็นรูทะลุ
อาการและอาการแสดง
เจ็บปวดเฉียบพลัน สูญเสียการได้ยิน
การรักษา
ไม่ต้องเอาลิ่มเลือดออก
ไม่ต้องหยอดยาหู
ไม่ต้องทำความสะอาดช่องหู
ทิ้งไว้เฉยๆอย่าชะล้าง
สาเหตุ
เกิดจากของมีคม เช่นกิ๊ปติดผมและสำลีปั่นหู
โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน Meniere's disease
อาการ
ประสาทหูเสื่อม มีเสียงดังในหูและ อาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน
พยาธิสภาพ
เกิดการคั่งของ endolymph จนทําให้
membranous labyrinth แตกออก
สาเหตุ
ไม่ทราบชัดเจน
การรักษา
การผ่าตัด
ให้ยาบรรเทาอาการ
ช่องปากและลำคอ
วินิจฉัย
เสี่ยงติดเชื้อ
เกิดภาวะพร่องสารน้ำ
เป็นแผลตรงที่ทำการผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
ไข้ ไอ เจ็บคอ กลืนลำบาก
หายใจทางปาก
ช่องหูกลางอักเสบ
พูดเสียงขึ้นจมูก
การผ่าตัด
กลับมาเป็นซ้ำ
รักษาด้วยยาไม่ได้ผล
กลืนลำบาก
เกิดฝีรอบทอลซิล
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงอาหารเปรี้ยว เผ็ดหลังผ่าตัด
งดการใช้เสียงในกิจกรรมที่ใช้เสียงมากเกินไป
ทานของเย็นช่วยลดอาการบวม
หลีกเลี่ยงแหล่งชุมชนเพื่อป้องกันการรติดเชื้อ
สาเหตุ
มาจากแบคทีเรียและไวรัส
อักเสบเรื้องรัง
จมูก nose
ไซนัส Sinusitis
ข้อวินิจฉัย
หายใจไม่มีประสิทธิภาพ
เกิดความเจ็บปวดในการผ่าตัด
เสี่ยงภาวะพร่องของสารน้ำ
เกิดการเปลี่ยนแปลง เช่นการมองเห็น
เกอดการติดเชื้อ
สาเหตุ
มีการอักเสบในจมูก มีเนื้องอกในจมูก
ฟันพุถอนฟัน ดำน้ำ ไอจามแรงเกินไป
ภูมิต้านทานต่ำ เป็นโรคเลือด
การพยาบาล
ประคบเย็นใน48ชม.
หลีกเลี่ยงแปรงฟันบริเวณมีแผล
นอนศีรษะสูง40-45องศา ลดอาการบวมที่จมูก
เลี่ยงการออกกำลังกาย 10-14วันแรกหลังผ่าตัด
ไอจามเปิดปาก ไม่ทำแรง
การรักษา
ทานยาปฏิชีวนะ ไม่นิยมหยอดจมูก
อาการ
คัดจมูก
มีหนองไหลอออกจากจมูก
ปวดกดเจ็บ
ริดสีดวงจมูก Nasal polyp
อาการ
คันจมูก แน่นจมูก หายใจไม่สะดวก พูดเสียงขึ้นจมูก
อาการแทรกซ้อน ไซนัสอักเสบ
การรักษา
กำจัดริดสีดวงออกโดย
Medical polypectomy ใช้ยากลุ่มสเตียรอยด์ พ่นจมูก
Surgical polypectomy ผ่าตัด
รักษาโรคที่เกิดร่วมและป้องกันการเกิดซ้ำ
สาเหตุ
เกิดจากเป็นหวัดเรื้อรัง ติดเชื้อในเยื่อจมูก
เลือดกำเดา Epistaxis
อาการและอาการแสดง
1.เลือดออกจากผนังกั้นจมูกส่วนหน้า Anterior Epistaxis
พบในเด็กและหนุ่มสาว
2.เลือดออกจากผนังกั้นจมูกส่วนหลัง Posterior Epistaxis
พบในผู้สูงอายุ
การรักษา
Anterior Epistaxis
การใช้สารเคมีหรือไฟฟ้า
ใช้ Anterior nasal packing
Posterior Epistaxis
Arterial Embolization
Laser photocoagulation
Arterial ligation
Skin graft to nasal septum and lateral nasal wall
Posterior nasal packing
สาเหตุ
เกิดจากการฉีกขาดของหลอดเลือดที่เยื่อบุจมูก
การพยาบาล
อาจมีอาการหูอื้อได้เพราะใส่ผ้าก็อซในจมูก
ห้ามดึงผ้าก็อซออกเอง
จัดท่านอน45-60องศา
ไอ จามให้เปิดปากด้วย
นางสาวสุวภัทร อุสาพรหม เลขที่99 ชั้นปีที่2 รุ่น37 รหัส 62111301102