Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน ฟืนฟูและการดูแลผู้ใหญ่ที่มีส…
การใช้กระบวนการพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน ฟืนฟูและการดูแลผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดี และมีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับอวัยวะสัมผัส
การได้กลิ่น (Smelling)
จมูกเป็นอวัยวะที่รับสัมผัสกลิ่น เช่น กลิ่นอาหาร และสารเคมีอื่นๆในโพรงจมูกจะมีเซลล์รับสัมผัสกลิ่นซึ่งเป็นสารเคมีอยู่ทางตอนท้ายของโพรงจมูกอยู่ถึง 7 ชนิด
กลไกการได้กลิ่น
โมเลกุลในอากาศ ➡️ ช่องโพรงจมูก ➡️ สัมผัสกับขน (Cillia) ของเซลล์รับความรู้สึกในการดมกลิ่นซึ่งอยู่ที่เยื่อบุโพรงจมูกด้านบน ➡️ ไปไซแนปส์กับเซลล์ประสาทรับกลิ่น (Olfactory cell) ➡️ ซึ่งจะเปลี่ยนกลิ่นเป็นกระแสประสาท➡️ วิ่งไปตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 (Olfactor nerve) ➡️ Olfactory bulb ➡️ แปรผลที่ Temporal lobe ของ Cerebrum (ศูนย์การดมกลิ่น)
เลือดกำเดา (Epistaxis)
สาเหตุ เป็นภาวะที่มีเลือดออกทางจมูก จากการฉีดขาดของหลอดเลือดที่เยื่อบุจมูก ซึ่งอาจมาจากการได้รับบาดเจ็บ การมีสิ่งแปลกปลอมเข้าไป และการมีความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด รวมทั้งการติดเชื้อรวมไปถึงการมีเนื้องอกในช่องจมูกด้วย
อาการและอาการแสดง เลือดออกจากผนังกั้นจมูกส่วนหน้า (Anterior Epistaxis) พบมากในเด็กและคนหนุ่มสาว เลือดออกจากผนังกั้นจมูกส่วนหลัง (Posterior Epistaxis) มักพบในผู้สูงอายุที่มีโรค HT หรือโรคนกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด ทำให้เลือดออกง่ายหยุดยาก
-
การพยาบาลหลังการรักษา
-
-
ถ้ามีอาการบวมบริเวณจมูกมากให้ประคบเย็น และให้ยาแก้ปวดร่วมกับจัดท่านอนศีรษะสูง 45-60 องศา เพื่อลดอาการบวมและให้พักผ่อนให้เพียงพอ
ประเมินภาวะเลือดออกโดยสังเกตผ้ากอซว่าเลื่อนหลุดลงไปในลำคอหรือไม่ ถ้าเลื่อนต้องตัดให้สั้น แต่ห้ามดึงผ้ากอซออกเอง
อธิบายให้ทราบว่าอาจมีอาการหูอื้อได้ แต่จะหายเมื่อนำตัวกดห้ามเลือดออก ซึ่งจะเอาออกหลังใส่ 48-72 ชั่วโมงแต่รายที่มีเลือดออกมากอาจใส่นาน 7 วัน
-
Sinusitis
ไซนัส หมายถึงโพรงหรือช่องอากาศที่อยู่ในกระดูกของหน้ามีทางติดต่อกับช่องจมูกเรียกว่ารูเปิดของไชนัส โดยทั่ว ๆ ไปในคนมีไซนัสอยู่ 4 คู่คือ
-
Frontal sinus อยู่ที่หัวคิ้วทั้ง 2 ข้าง ในบางรายพบว่ามีเพียงช่องเดียวหรือไม่มีเลย บางรายก็มีถึง 3 ช่อง
Ethmoidal sinus อยู่ที่ซอกตาระหว่างกระบอกตา และจมูกเป็นช่องเล็ก ๆ ติดต่อกันอยู่มีข้างละประมาณ 2-10 ช่อง
-
-
-
การรักษา
ส่วนมากเป็นการรักษาด้วยยารับประทาน ไม่นิยมให้ยาหยอดจมูกผู้ป่วยที่ปฏิบัติตนตามที่แพทย์แนะนำและรับประทานยาสม่ำเสมอในระยะนี้ยาที่ใช้ส่วนใหญ่ คือยาปฏิชีวนะและยาที่รักษาตามอาการ
การพยาบาลหลังผ่าตัด
-
ประคบบริเวณจมูกด้วยความเย็นเพื่อบรรเทาอาการปวด (ใน 48 ชั่วโมงแรกไม่ควรประคบร้อนเพระจะกระตุ้นให้มีเลือดออกได้)
การป้องกันการติดเชื้อ ควรกระตุ้นให้ผู้ป่วยดูแลทำความสะอาดช่องปากโดยบ้วนปากด้วยน้ำเกลืปราศจกเชื้อบ่อย ๆ ควรหลีกเลี่ยงการแปรงฟันบริเวณแผล
-
ไม่ควรไอจามแรง ๆถ้าจะจามให้ทำแบบเปิดปากด้วยพือลดแรงดันที่จะเข้าสู่โพรงอากศข้างจมูก ซึ่งทำให้แผลผ่ตัดในช่องปากแยกได้
-
-