Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มผู้มีภาวะกระดูกหัก ข้อเคล็ด ข้อเคลื่อน - Coggle Diagram
กลุ่มผู้มีภาวะกระดูกหัก ข้อเคล็ด ข้อเคลื่อน
โครงสร้างของกระดูก
กระดูกเป็นโครงร่างของร่างกาย เป็นที่สะสมธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส
มีทั้งหมด 206ชิ้น
หน้าที่ของกระดูก
ประกอบกันเป็นโครงร่างของร่างกาย
ช่วยในการเคลื่อนไหว
• ป้องกันอวัยวะภายใน
• สร้างเม็ดเลือดแดง
กระดูกหัก
สาเหตุ
มีแรงกระทบ 2. การหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างแรง 3. โรคกระดูก
ประเภทของกระดูกหัก
กระดูกหักแบบปิด
กระดูกหักแบบเปิด
อาการและอาการแสดง
ปวด
• บวม ผิดรูปร่าง
• ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ตามปกติ
• คลำ กด ได้ยินเสียงกรอบแกรบ
• อาจพบกระดูกโผล่ให้เห็นชัดเจน
คำจำกัดความ
การเสียความต่อเนื่องของกระดูก อาจเป็นเพียงรอยร้าว หรือหักอย่างสมบูรณ์
หลักในการปฐมพยาบาลกระดูกหัก
ห้ามเลือด และ ปิดแผล
เข้าเฝือกชั่วคราว
ประโยชน์ของการเข้าเฝือกชั่วคราว
•ลดความเจ็บปวด
•ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
•เคลื่อนย้ายสะดวก ปลอดภัย
หลักในการเข้าเฝือกชั่วคราว
• ใช้วัสดุเหมาะสม พอหาได้
• ถ้ามีบาดแผล ห้ามเลือดปิดแผลก่อนการดามกระดูก
• ตรึงกระดูกที่หักในท่าที่ผู้บาดเจ็บรู้สึกสบาย
• วัสดุที่ใช้ดามต้องยาวพอที่จะยึดข้อ 2ข้อที่อยู่เหนือและต่ากว่าส่วนที่หัก
• พันด้วยผ้ายืด ไม่แน่นหรือหลวม จนเกินไป
ชนิดต่างๆของกระดูกหักและการเข้าเฝือกแบบต่างๆ
กระดูกขากรรไกรล่างหัก
อาการ
ปากอ้า ขยับปากได้ไม่สะดวก มีเลือด น้าลายไหล ฟันไม่สบกัน
การช่วยเหลือ
ใช้ผ้ายืด 2ผืน พันรอบใต้คางแล้วผูกไว้กับศีรษะ
กระดูกไหปลาร้าหัก
อาการ
บวม กดเจ็บ ผิดรูป ยกแขนข้างที่หักไม่ขึ้น หรือยกได้ไม่เต็มที่
การช่วยเหลือ
ใช้ผ้าคล้องคอ รองรับแขนข้างที่หัก อีกผืนหนึ่งพันรอบตัวยึดแขนไว้
กระดูกสันหลังส่วนคอหัก
อาการ
ปวด บวมบริเวณคอ แขนขาชา อ่อนแรง ในรายที่หมดสติให้สงสัยไว้ก่อนว่ากระดูกคอหัก
การช่วยเหลือ
ใช้เฝือกดามคอ
ตรึงศีรษะให้แน่นกับแผ่นไม้กระดาน
กระดูกแขนหัก
ใช้ไม้ดาม
ใช้ผ้าคล้องคอ
กระดูกต้นขาหัก
กระดูกหน้าแข้งหัก
Log and roll หรือ Log rolling ในกรณีที่ผู้ป่วยมีการบาดเจ็บทางกระดูกสันหลัง
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นและการส่งต่อ
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัว ABCs
2.ให้ออกซิเจนถ้าระบบหายใจไม่ดี
3.ให้สารน้้ำทางหลอดเลือดดาถ้ามีความดันโลหิตลดลงหรือช็อก
4.ประเมินตาแหน่งที่มีการบาดเจ็บ ให้การดูแลบาดแผล ห้ามเลือดถ้ามีเลือดออก
5.ดามบริเวณกระดูกที่หัก
6.ล้างแผลให้สะอาด ปิดแผลไว้
ประคบเย็นเพื่อลดอาการปวดและลดบวม
8.ฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก
9.จัดท่าทางให้เหมาะสมเพื่อให้การไหลเวียนเลือดปกติ
10 .กรณีที่มีแผลเปิดและอาจต้องได้รับการผ่าตัดให้งดน้างดอาหารทางปาก
11.ส่งต่อสถานบริการที่มีความพร้อม
ข้อเคลื่อน
คำจำกัดความ
ปลายหรือข้อกระดูกที่ประกอบขึ้นเป็นข้อนั้นๆเคลื่อนออกจากที่เคยอยู่ตามปกติ
สาเหตุ
จากแรงกระทบกระแทก
มีโรคของข้ออยู่ก่อนแล้ว
อาการของข้อเคลื่อน
• ข้อนั้นจะบวม และปวดมาก
• ผิดรูปร่าง
• เคลื่อนไหวข้อไม่ได้
• ความยาวของแขนหรือขาข้างนั้นอาจสั้นหรือยาวกว่าปกติ
• อาจคลำปลายหรือหัวกระดูกที่หลุดได้
การปฐมพยาบาลข้อเคลื่อน
•อย่าพยายามดึงเข้าที่
•ให้ส่วนนั้นพักอยู่นิ่งๆ
•ถ้าปวดประคบด้วยความเย็น
•นำส่งโรงพยาบาล
ข้อเคล็ดหรือข้อแพลง (SPRAIN)
คำจำกัดความ
เกิดจากข้อนั้นมีการเคลื่อนไหวมากเกินไปทาให้เนื้อเยื่อรอบๆข้อฉีกขาดทาให้มีเลือดมาคั่งบริเวณที่ฉีกขาดพบบ่อยที่ข้อเท้า ข้อมือ
อาการของข้อเคล็ด
มีอาการบวม ปวดมาก เคลื่อนไหวข้อได้น้อยหรือไม่ได้เลยถ้าเคลื่อนไหวหรือกดบริเวณข้อจะเจ็บปวดมากขึ้นหากมีอาการชาเนื่องจากเส้นประสาทบริเวณนั้นฉีกขาดด้วย
สาเหตุ
ข้อถูกบิด กระชากหรือพลิกอย่างแรง เช่น หกล้ม ตกหลุม เล่นกีฬา
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้ส่วนที่เคล็ดอยู่นิ่งๆ เพื่อให้ข้อได้พัก
ยกบริเวณนั้นให้สูง
ใน 24 ชั่วโมงแรกประคบด้วยความเย็น หลัง 24 ชั่วโมงประคบด้วยความร้อน
ใช้ผ้ายืดพันบริเวณข้อเพื่อยึดให้ข้อนั้นอยู่นิ่งและลดอาการบวม
ส่งต่อ เพื่อตรวจดูว่าไม่มีกระดูกหักร่วมด้วย
การยกและการเคลื่อนย้าย
คำจำกัดความ
•การนำผู้ป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บออกจากที่เกิดเหตุ ด้วยวิธีการยก แบกหาม ลาก
เหตุผลที่สำคัญในการเคลื่อนย้าย
•อาการของผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บไม่ปลอดภัย
•สถานการณ์ในที่เกิดเหตุไม่ปลอดภัย
หลักในการเคลื่อนย้าย
•ประเมินสถานการณ์และอาการของผู้บาดเจ็บ
•ปฐมพยาบาลก่อนการเคลื่อนย้าย ยกเว้น สถานการณ์ไม่ปลอดภัย
•ห้ามทำให้ผู้บาดเจ็บได้รับบาดเจ็บมากขึ้น
•ใช้วิธีการและอุปกรณ์ในการเคลื่อนย้ายที่เหมาะสม
•จัดสถานที่พักรอให้ปลอดภัย
•นำส่งสถานพยาบาลที่เหมาะสม
ข้อควรระวังในการเคลื่อนย้าย
ความปลอดภัยของผู้ได้รับบาดเจ็บ
•ระวังการบาดเจ็บที่กระดูกคอและไขสันหลัง
•ขณะนำส่งต้องสังเกตอาการผู้บาดเจ็บอย่างใกล้ชิด
ความปลอดภัยของผู้ช่วยเหลือ
•ท่าทางการยกที่ผิด
•ภัยคุกคามที่กาลังดาเนินอยู่
การจัดท่าเพื่อรอการเคลื่อนย้าย
• ผู้ป่วยที่มีอาการช็อค หน้าซีด เหงื่อออกตัวเย็น ชีพจรเบาเร็ว
นอนศีรษะต่า ยกปลายเท้าสูง และให้ความอบอุ่นแก่ผู้ป่วย
• ผู้ป่วยหมดสติ หายใจได้ มีเลือดออกในปาก
จัดนอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง
ผู้ป่วยปวดท้อง
มีแผลที่หน้าท้อง นอนหงาย ชันเข่า
กฎในการยกและการเคลื่อนย้าย
• บอกเล่าแผนการ
• ประมาณกำลัง
• ห้ามทำหลังงอ
• ย่อขาหนีบแขน
• กำแน่นชิดตัว
• หัวเท้าสมดุล
• ละมุนละม่อม
การเคลื่อนย้ายแบ่งเป็น 2ประเภท
1.การเคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉิน
2.การเคลื่อนย้ายแบบไม่ฉุกเฉิน
ในกรณีสงสัยว่ามีการบาดเจ็บที่กระดูกคอและกระดูกสันหลังจะไม่ให้เคลื่อนย้าย