Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การให้เหตุผลและการตัดสินใจ - Coggle Diagram
การให้เหตุผลและการตัดสินใจ
1. การให้เหตุผล
1.1 ความหมาย
การให้เหตุผลเป็นกระบวนการที่นำข้อความหรือปรากฏการณ์ที่เป็นเหตุหรือสมมติฐาน (hypothesis) มาวิเคราะห์และแจกแจงแสดงความสัมพันธ์หรือความต่อเนื่อง เพื่อทำให้เกิดข้อความใหม่หรือปรากฏการณ์ใหม่ซึ่งเรียกว่าผลสรุป หรือ ข้อยุติ (conclusion)
1.2 ลักษณะของการให้เหตุผล
1.2.1 การให้เหตุผลแบบอุปนัย
1.2.2 การให้เหตุผลแบบนิรนัย
1.3 การตรวจสอบความสมเหตุสมผล
การตรวจสอบว่าข้อสรุปสมเหตุสมผลหรือไม่นั้นสามารถตรวจสอบได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อความที่กำหนดมาให้ วิธีหนึ่งคือ การวาดแผนภาพตามสมมติฐานที่เป็นไปได้ แล้วจึงพิจารณาว่าแผนภาพแต่ละกรณี ในการใช้แผนภาพเพื่อตรวจสอบความสมเหตุสมผล
2. การตัดสินใจ
2.1 รูปแบบของการตัดสินใจ
2.1.1 การตัดสินใจแบบคลาสสิก
2.1.2 การตัดสินใจเชิงพฤติกรรม
2.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสินใจ
2.2.1 หมวกสีขาว เป็นตัวแทนของข้อเท็จจริง
2.2.2 หมวกสีแดง เป็นตัวแทนของอารมณ์และความรู้สึกที่มีต่อเรื่องราวนั้นๆ โดยไม่จำเป็นต้องอธิบายเหตุผลใดๆ
2.2.3 หมวกสีฟ้า เป็นตัวแทนของการควบคุมความคิดทั้งหมดหรือมุมมองในทางกว้างที่ครอบคลุมทุกสรรพสิ่ง
2.2.4 หมวกสีเหลือง การคิดแบบหมวกเหลืองเป็นการคิดในเชิงบวก การมองโลกในแง่ดี การมุ่งมองที่ประโยชน์ การคิด
2.2.5 หมวกสีเขียว หมายถึง ความคิดที่เกี่ยวข้องกับความคิดใหม่ๆ และวิธีการใหม่ๆ ในการมองสิ่งต่างๆ
2.2.6 หมวกสีดำ เป็นหมวกคิดที่เป็นธรรมชาติ และสอดคล้องกับวิธีการคิดของตะวันตกมาก หมวกสีดำชี้ให้เราเห็นความผิดปกติ สิ่งใดไม่สอดคล้อง สิ่งใดใช้ไม่ได้
2.3 ขั้นตอนของการตัดสินใจให้มีประสิทธิภาพ
2.3.1 ทำความเข้าใจอย่างชัดเจนในเหตุผลสำหรับการตัดสินใจ
2.3.2 วิเคราะห์ลักษณะของปัญหาที่จะตัดสินใจ
2.3.3 ตรวจสอบทางเลือกต่างๆ ในการแก้ปัญหา โดยพิจารณาถึงผลที่อาจเกิดตามมา
2.4 เทคนิคการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการตัดสินใจ
2.4.1 การระดมสมอง (Brain Storming)
2.4.2 การใช้เกณฑ์ของกลุ่ม
2.4.3 เทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique)
2.4.4 การแสดงบทบาทของผู้ร้าย (Devil' Advocacy)
2.4.5 การสืบค้นโดยการสนทนา
2.5 ประเภทของปัญหา
2.5.1 ปัญหาวิกฤต (Crisis Problem) เป็นปัญหาที่จำเป็นต้องตัดสินใจอย่างเร่งด่วน มิฉะนั้นจะส่งผลเสียต่อองค์กรเป็นอย่างมาก
2.5.2 ปัญหาไม่วิกฤต (Non-Crisis Problem) เป็นปัญหาที่จำเป็นต้องแก้ไข แต่ไม่เร่งด่วน มีเวลาเตรียมการตัดสินใจแก้ไขปัญหาค่อนข้างมาก
2.5.3 ปัญหาที่เป็นโอกาส (Opportunity Problem) เป็นปัญหาที่ไม่วิกฤตประเภทหนึ่ง ปัญหาประเภทนี้จะแฝงไว้ด้วยศักยภาพและโอกาสแห่งความสำเร็จขององค์กร
2.6 สถานการณ์ของการตัดสินใจ
2.6.1 การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน
2.6.2 การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง
2.6.3 การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน
3. การโต้แย้ง
3.1 โครงสร้างของการโต้แย้ง
โครงสร้างของการโต้แย้งคือ โครงสร้างของการแสดงเหตุผล เพราะกระบวนการโต้แย้งต้องอาศัยเหตุผลเป็นสำคัญ ซึ่งการโต้แย้งจะต้องประกอบด้วย “ข้อสรุป” และ “เหตุผล”
3.2 กระบวนการโต้แย้ง
3.2.1 การตั้งประเด็นในการโต้แย้ง
3.2.2 การค้นหาข้อสนับสนุนทรรศนะของตน
3.2.3 การเรียบเรียงข้อสนับสนุน
3.2.4 การชี้ให้เห็นจุดอ่อนของทรรศนะฝ่ายตรงข้าม
3.3 การวินิจฉัยเพื่อตัดสินข้อโต้แย้ง