Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า และฆ่าตัวตาย, บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีภ…
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า และฆ่าตัวตาย
ภาวะซึมเศร้า
การที่บุคคลมีพฤติกรรมที่เกิดจากภาวะจิตใจที่หม่นหมอง หดหู่ เศร้าสร้อย ท้อแท้ สิ้นหวัง และมองโลกในแง่ร้าย
อาการและอาการแสดง
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
น้ำหนักตัวลดลง ดูซูบซีด แก่ดูแก่กว่าอายุจริง
ท้องผูก เนื่องจากการรับประทานอาหารน้อย
เบื่ออาหาร การรับรสชาติเปลี่ยนแปลง
มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ไม่ทราบสาเหตุ
นอนไม่หลับเป็นเวลา 1-2 สัปดาห์
ความสนใจในตนเองลดลง
มีอาการเศร้า เป็นสำคัญ มีความรู้สึกหดหู่ใจ
รู้สึกอยากจะร้องไห้ หรือร้องไห้ง่าย
มีความคิดเชื่องช้าลง ขาดสมาธิจำอะไรไม่ค่อยได้
มักคิดหมกหมุ่นเกี่ยวกับตนเอง
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคม
ไม่ชอบงานสังสรรค์หรืองานรื่นเริง
ถอยหนีจากสังคม
ผู้ป่วยมีความสนใจสิ่งแวดล้อมลดลง
ความรุนแรง
ภาวะซึมเศร้าระดับปานกลาง
(moderate depression/neurotic depression)
จากการสูญเสียสามี
ภาวะอารมณ์ซึมเศร้าที่รุนแรงขึ้นกว่าระดับอ่อน
ภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
(severe depression/Psychotic depression)
ภาวะของอารมณ์ซึมเศร้าที่รุนแรงอย่างมาก
ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ในชีวิตประจำวันได
ภาวะซึมเศร้าระดับอ่อน
(mild depression/blue mood)
เมื่อต้องแยกจากบุคคลอันเป็นที่รัก
เมื่อตกในสภาวการณ์ที่บุคคลต้องอยู่ลำพัง
ภาวะอารมณ์ที่ไม่สดชื่นหม่นหมอง
สาเหตุการเกิดภาวะซึมเศร้า
แนวคิดด้านการเปลี่ยนแปลง
ของสารชีวเคมีในร่างกาย
ทำหน้าที่กระตุ้นสมองส่วนที่ทำให้มนุษย์ตื่นตัว
ทำให้บุคคลเกิดอารมณ์เศร้า หดหู่ในระดับที่แตกต่างกัน
เกิดจาการลดน้อยลงของสารจำพวก
ไบโอจินิก อะมีนส์ (biogenic amines)
แนวคิดด้านกลไกทางจิตใจ
ความตายของบุคคลอันป็นที่รัก
การสูญเสียเกียรติยศ ชื่อเสียง ทรัพย์สิน
สาเหตุสำคัญมาจากความ
เจ็บปวดที่เกิดจากความสูญเสีย (loss)
การฆ่าตัวตาย (suicide)
อัตวินิบาตกรรม หมายถึง การที่บุคคลมีความคิดอยากทำร้ายตนเอง และพยายามทำให้ชีวิตของตนเองสิ้นสุดลงด้วยวิธีการต่างๆ ที่ไม่ใช่อุบัติเหตุ
อาการและอาการแสดง
บุคคลกลุ่มนี้มีความคิดซ้ำๆ
ที่จะทำร้ายตนเอง
มักแสดงออกด้วยการพูดเปรยๆ
บอกผู้อื่นในเชิงขู่ว่า ตนจะทำฆ่าตัวตาย
การฆ่าตัวตายแบบคุกคาม
(threatened suicide)
บุคคลกลุ่มนี้จะมี
อารมณ์ซึมเศร้าชัดเจน
มักจะแสดงพฤติกรรมที่เป็นการเตือนทั้งทางอ้อม หรือบอกตรงๆ
การฆ่าตัวตายสำเร็จ
(completed suicide / committed suicide)
มีการวางแผนการกระทำ
บุคคลจะพยายามทำร้ายตนเอง
ด้วยวิธีการต่างๆ
เพื่อเรียกร้องความสนใจ ต้องการเอาชนะ
กินยาเกินขนาด
ส่วนมากเป็นผู้หญิงอายุต่ำกว่า 35 ปี
สาเหตุการฆ่าตัวตาย
สาเหตุด้านชีวภาพ
ชีววิทยาของการฆ่าตัวตาย
(biochemical factors)
มีระดับสารสื่อประสาทที่เกี่ยวข้องกับการ
เกิดอารมณ์ซึมเศร้าในน้ำไขสันหลังมีระดับต่ำลง
5-Hydroxyindoleacetic acid (5-HIAA)
การเจ็บป่วยทางด้านร่างกาย
(medical factors)
พบในผู้ป่วยที่มีการเจ็บป่วยทางกายที่เรื้อรังที่มีความทุกข์ทรมาน
การเจ็บป่วยที่ไร้สมรรถภาพ
สาเหตุด้านจิตใจ
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด (cognitive-behavioral theory)
สาเหตุทางด้านสังคม ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ด้านจิตวิเคราะห์ (psychoanalytic theory)
สาเหตุด้านจิตวิญญาณ บุคคลที่ขาดที่พึ่ง หรือสิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ
การพยาบาล
ภาวะซึมเศร้า
การประเมิน
ประเมินระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้า
ประเมินการดูแลตนเองด้านสุขอนามัย
ประเมินความสนใจในสิ่งแวดล้อม
ประเมินบุคลิกภาพ
ประเมินความสมดุลระหว่างการทำกิจกรรม
กิิจกรรมการพยาบาล
การลดภาวะซึมเศร้า สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ
การป้องกันการทำร้ายตนเองและผู้อื่น
ประเมินโอกาสเสี่ยงในการทำร้ายตนเอง
การส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองให้แก่ผู้ป่วย
การส่งเสริมการดูแลตนเองด้านสุขอนามัย และกิจวัตรประจำวัน
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม
การดูแลเรื่องการให้ได้รับสารน้ำสารอาหารเพียงพอต่อร่างกาย
การส่งเสริมการทำกิจกรรม และการพักผ่อนตามความต้องการของร่างกายให้เกิดความสมดุล
สอน และให้ข้อมูลเกี่ยวกับการแสวงหาแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคม
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำ เนื่องจากเคยมีประวัติการทำร้ายร่างกายตนเองก่อนหน้า
นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ เนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย เนื่องจากมีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรง
ขาดทักษะการเผชิญปัญหา เนื่องจากคิดว่าตนเองไร้ค่าและไร้ความหมาย
การประเมินผล
ผู้ป่วยและผู้อื่นปลอดภัย ไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว
ผู้ป่วยพูดถึงตนเองด้วยความพอใจ
ผู้ป่วยมีภาวะซึมเศร้าลดลง
ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ผู้ป่วยทักทาย พูดคุยกับผู้อื่นได้มากยิ่งขึ้น
ผู้ป่วยสามารถรับประทานอาหารเอง โดยไม่ต้องกระตุ้น
การฆ่าตัวตาย
กิจกรรมทางการพยาบาล
ส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
ประเมินความเสี่ยง และวางแผนป้องกันการฆ่าตัวตาย
การส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
ฝึกทักษะการเผชิญปัญหาในชีวิตอย่างสร้างสรรค์
การประเมินผล
ผู้ป่วยรู้สึกมีคุณค่าในตนเองเพิ่มมากขึ้น
ผู้ป่วยมีวิธีการเผชิญปัญหาที่เหมาะสมเพิ่มมากขึ้น
ผู้ป่วยปลอดภัย ไม่มีพฤติกรรมการพยายามฆ่าตัวตาย
การประเมิน
ความตั้งใจ/มีการวางแผนการฆ่าตัวตายอย่างชัดเจน
ความพร้อมในด้านอหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมของผู้ป่วย
ข้อมูลส่วนบุคคลต่างๆ ที่เป็นปัจจัยเสี่ยง
และเป็นสาเหตุชักจูงให้ฆ่าตัวตาย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายซ้ำเนื่องจากมีภาวะซึมเศร้ารุนแรง และเคยมีประวัติการทำร้ายตนเอง
เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายเนื่องจากรู้ว่าตนเองไม่มีคุณค่า และใช้กลไกทางจิตในการแก้ไขปัญหาไม่เหมาะสม
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
และฆ่าตัวตาย
นางสาวอรอุมา มะลัยคำ พยบ 3 รหัสนักศึกษา 180101026