Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วย, นางสาวญาณกร ธรรมปาพจน์ ปี 2 รุ่นที่ 37 - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วย
ตา (eye)
ต้อหิน (Glaucoma)
ลักษณะ
มีความดันในลูกตา (IOP)
ขั้วตาผิดปกติ
สูญเสียลานสายตา (Visual field)
สาเหตุ
ความผิดปกติของ trabecular meshwork ตั้งแต่กำเนิด
ความเสื่อมของเนื้อเยื่อภายในลูกตา
การใช้ยาที่มีสารฮอร์โมนพวก corticosteroid
การทำลายขั้วประสาทตา
เนื้องอกในลูกตา
อุบัติเหตุในตา
โครงสร้างตาผิดปกติ
ชนิด
ต้อหินปฐมภูมิ
ต้อหินชนิดมุมปิด
พบได้ร้อยละ 10 ของทั้งหมด
การตีบแคบของ trabecular meshwork
เกิดการระบายของน้ำหล่อเลี้ยงในลูกตาลดลง
ทำให้มีแรงกดภายในลูกตาบริเวณ optic disc
ต้อหินชนิดมุมเปิด
พบได้ร้อยละ 60-70 ของทั้งหมด
การตีบแคบของ trabecular meshwork
เกิดการระบายของน้ำหล่อเลี้ยงในลูกตาลดลง
การรักษา
ต้อหินปฐมภูมิ
การรักษา ต้อหินระยะเฉียบพลัน
อพทย์มักให้ยาหยอดตาหรือยาทานรวมถึงยาฉีด
ต้องรีบรักษาเพื่อความดันในลูกตาให้ลงสู่ระดับปกติ
ต้อหินระยะเรื้อรัง
แพทย์จะให้รักษาให้ยาหยอดตาและยารับประทาน
การพยาบาล
หากมีอาการ ตาเเดง นำ้ตาไหลปวดตามาก ตามัวลง หรือตาสูแสงไม่ได้ให้มาตรวจก่อนวันนัด
สอนหยอดยาอย่างมีประสิทธิภาพ
แนะนำให้ใส่แว่น หลีกเลี่ยงการขยี้ตา หลังทำเลเซอร์
ทำเลเซอร์ หลังทำอาจเกิดอาการปวดศีรษะหรือตามัวลงเล็กน้อย
กายวิภาคศาสตร์
ประกอบด้วย
ชั้นนอก
เปลือกลูกตา (Sclera)
กระจกตา (Cornea)
ชั้นใน
จอประสาทตา (Retina)
แก้วตา (Lens)
วุ้นตา (Vitreous)
ชั้นกลาง
ม่านตา (Iris)
Ciliary body
Choriod
การตรวจตา
ลูกตา
ดูตวามชุ่มชื่น
ดูความนูนของลูกตา
ปกติขณะลืมตา
ดูภาวะตาโปน
ดูตำแหน่งของลูกตา
คลำลูกตาเพื่อประเมินความนุ่ม
ปกติจะนุ่ม เเต่หาเกิดการเเข็งบอกถึงความดันในลูกตาสูง
หนังตา
ดูความบวมช้ำเป็นก้อน
สังเกตุการดึงรั้นของหนังตา
เปลือกตาตก บอกว่า กล้ามเนื้อลูกตาเสีย
ขนตา
ขนตาม้วนเข้า
ขาตาปลิ้นออก
รูม่านตาและแก้วตา
ปกติจะเป็นสีดำและใส
ดูความสามารถของม่านตา และสังเกตรูม่านตาว่าเป็นงกลมหรือไม่
ขุ่นจะเป็นต้อกระจก
Retina Detachment (จอประสาทตาลอก)
การรักษา
cryocoagulation (การจี้ด้วยความเย็น)
การฉีดก๊าซเข้าไปในตา (Pneumatic retinopexy)
ใช้สำหรับผู้ป่วยที่จอประสาทฉีกขาดเพียงเล็กน้อย
การผ่าตัดหนุนจอประสาทตา (Scleral bucking)
ใช้ระกษาผู้ป่วยที่มีอาการรุนเเรง
การผ่าตัดนำ้วุ้นลูกตา (Pars plana vitrectomy)
มักใช้กับผู้ป่วยที่มีจอประสาทตาฉีกขนาดใหญ่
การพยาบาล
เมื่อกลับบ้าน
ควรทำความสะอาดใบหน้าโดยผ้าขนหนูชุบน้ำบิดหมาดๆ เช็ดหน้าเบาๆเฉพาะข้างที่ไม่ได้ผ่าตัด
ระวังอย่าให้น้ำหรือฝุ่นละอองเข้าตา
ควรหลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่หักโหม
ไม่ควรยกของหนักหรือทำงานหนัก
ก่อนผ่าตัด
แนะนำเลี่ยงการขยี้ตา
แนะนำห้ามก้มหน้า
ดูเเลผู้ป่วย Absolute bed rest
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค แผนการรักษา การผ่าตัด เพื่อลดความกังวล
หลังผ่าตัด
ควรให้กำลังใจและให้ข้อมูลเกี่ยวกับแผนการรักษาเป็นระยะ
รับประทานอาหารอ่อนๆ
ได้รับการวัดความดันลูกตาหลังผ่าตัด 4-6 ชม.
จัดท่านอนควำ่หรือนั่งคว่ำหน้าให้ได้อย่างน้อยวันละ 16 ชม.
เพื่อให้เเก๊สที่ใส่ไว้ขณะผ่าตัดไปกดบริเวณจอประสาทตาลอกหลุด
ช่วยให้จอประสาทตาติดกลับเข้าที่ได้
การป้องกัน
เข้ารับการตรวจสายตาเป็นประจำทุกปีโดยเฉพาะผู้ที่มีสายตาสั้นอย่างมาก
สวมแว่นสำหรับป้องกันดวงตาขณะทำกิจกรรม
ไปพบจตุจักษุแพทย์เมื่อมีอาการผืดปกติที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็น
อาการ
มองเห็นคล้ายม่านบังตา
ตามัว
มองเห็นแสงวูบวาบคล้ายฟ้าแลบ
แบ่งเป็น
ชนิดที่เกิดจากการดึงรั้น
ชนิดที่ไม่มีรูขาดที่จอประสาทตา
เกิดจากรูหรือรอยฉีกขาดที่จอประสาทตา
สาเหตุ
การได้รับอบัติเหตุถูกกระทบกระเทือนบริเวณที่ตา
มีการเสื่อมของจอประสาทหรือน้ำวุ้นตา
ต้อกระจก
การพยาบาล
เน้นกลางคืนปิดฝาครอบตา กลางวันใส่แว่นสีชาหรือซีด
จัดท่านอนให้ผู้ป่วยไม่นอนทับบริเวณที่ได้รับการผ่าตัด
หลีกเลี่ยงการไอจามแรงๆ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยต้องระมัดระวังการกระทบบริเวณดวงศีรษะ
ทานอาหารอ่อนๆ
ระวังอย่าให้น้ำกระเด็นเข้าตา
วินิจฉัย
การตรวจวัดสายตา
การทดสอบโดยขยายรูม่านตา
การตรวจโดยใช้กล้องจุกษุจุลทรรศน์ลำแสงแคบ
การตรวจวัดความดันลูกตา
การป้องกัน
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
วิตามิน A สูงบำรุงสายตา
โปรตีนจาก ไข่ เนย นม สัตว์
ไม่ควรใช้สายตาติดต่อกันเป็นเวลานาน ควรหยุดพักสายตาเป้นระยะ
เลี่ยงการเผชิญแสงแดดโดยตรงเพื่อป้องกันอันตรายดวงตา-
จัดสภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีแสงสว่างที่พอดีและสบายต่อการมองเห็น
สาเหตุ
ความผิดปกติโดยกำเนิด
การเสื่อมตามวัย
ต้อกระจกที่สุกเเล้ว
ความขุ่นของแก้วตากระจายไปทั่วลูก
เมื่อใช้ไฟส่ิงจะไม่พบเงาม่านตาและวัดสายตาได้
ระยะนี้เหมาะสมกับการผ่าตัดมากที่สุด
แก้วตามีความแข้งตัวในขนาดที่พอดี
ตาขุ่นทั้งหมด
ต้อกระจกที่ไม่สุก
การขุ่นของแก้วตาเริ่มที่เปลือกหุ้มแก้วตา แต่บริเวณกลางแก้วตายังคงใส
ทึบตรงส่วนกลางแก้วตาแต่ส่วนรอบๆ ยังใส ไม่ขุนมาก
ต้อกระจกที่สุกเกินไป
เลนส์ที่แข็งมากขึ้น หากปล่อยทิ้งไว้ตาจะบอดได้
ขนาดเลนส์เล็กลงและมีเปลือกหุ้มเลนส์ที่ย่น
ระยะทำการผ่าตัดค่อนข้างบาก เพราะิาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
เกิดจากสาเหตุอื่นๆ
อาจเกิดจากอุบัติเหตุกระทบกระเทือนอย่างแรงที่ลูกตา
ดดนของมีคมทิ่มแทงทะลุตาและไปโดยเลนส์ตา
การรักษา
มีวิธีเดียวคือ การผ่าตัดเอาแก้วที่ขุ่นออก เรียกว่า ลอกต้อกระจก
ชนิดของการผ่าตัด
Intarcapsular cataract extraction
มีผลต่อสายตาการมองถ้าไม่ใส่เลนส์เข้าไปแทน
ผ่าตัดชนิดนี้มีผลไม่แน่นอน
ผ่าตัดนำแก้วตาี่ขุ่นพร้อมทั้งเปลือกหุ้มเข้าตาทั้งหมด
Extarcapsular cataract extraction
ผ่าตัดเอาแก้วตาที่ขุ่นออกพร้อมทั้งเปลือกหุ้มเข้าตาด้านหน้า
ดดยเหลือเปลือกหุ้มแก้วตาด้านหลัง
Phacoemulsification with intarocular Lens
ข้อดี ระยะฟื้นตัวหลังการผ่าตัดสั้นกว่า
ใช้คลื่นเสียงหรืออัลตราซาวด์ที่มีึวามถี่สู.เข้าไปสลายเนื้อเเก้วแล้วดูดออกทิ้ง
นำแก้วตาเทียมไปใส่แทน
ข้อเสีย เป็นวิธีใหม่ ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ
เป็นภาวะแก้วตาขุ่น
ทำให้เกิดอาการตามัว มองเห้นภาพไม่ชัดเจน
อาการ
ผู้ป่วยอาจเข้าใจว่าพร่ามัวเกิดจากระดับสายตาที่มีปัญหา
สายตาสั้น นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงแว่นตาหรือคอนเทคเลนส์บ่อยๆ
มองเห็นเป็นภาพซ้อน
มองเห็นเป็นวงแหวนรอบแสงไฟหรือหลอดไฟ
มองเห้นได้ไม่ชัดเจนอภาพเบลอ หรือพร่ามัว
อุบัติเหตุทางตา EYE Injury
อันตรายจากสารเคมี
สารเคมี
สารด่าง
สารกรด
อาการ
สานตาสู้แสงไม่ได้
การมองเห็นจะลดลง
ปวดแสบปวดร้อนระคายเคืองตามาก
การรักษา
รักษาด้วยการใช้ยาขึ้นกับความรุนแรงที่เกิดขึ้น
ยาป้องกันการติดเชื้อ
ยาลดความดันตา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
อาจมีการปลูกถ่ายเยื่อหุ้มรกเพื่อปิดแผล
การผ่าตัดชนิดใดขึ้นอยู่กับความรุนแรง
เปลี่ยนกระจกตา
ขูดเซลล์กระจกตาที่ตายแล้วออก
หากเกิดถาวะ corneal abrasion อาจได้รับการป้ายตาและติดตาแน่นไว้ 24 ชม.
ล้างตาโดยเร็วที่สุด หากเป็นไปได้ผู้ป่วยควรได้รับการล้างด้วยน้ำสะอาดปริมาณมาก
การพยาบาล
การดูแลการบรรเทาอาการอาการปวดกรณีทีผู้ป่วยมีอาการปวดมาก
ให้ทานยาตามแผนการรักษาให้ครบ
ล้างตาผู้ป่วยโดยเร็วที่สุดโดยใช้ Normal Saline หรือ Sterilewater โดยใช้เวลาอย่างน้อย 30 นาที
เลือดออกในช่องม่านตา (Hyphema)
การพยาบาล
ให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียงให้มากที่สุด
แนะนำให้ผู้ป่วยนอนนิ่งๆไม่ควรลุกจากเตียงประมาณ 3-5 วัน
ปิดตาทั้ง 2 ข้างที่มีเลือดออกด้วยผ้าปิดตา และที่ครอบตา ไขหัวเตียงสูง 30-45 องศา
ถ้าผู้ป่วยปวดตาต้องติดตามประเมินอาการปวดภายหลังผู้ป่วยทานยาเเก้ปวด 30 นาที
เช็ดตาทุกวันในตอนเช้าพร้อมทั้งประเมินว่ามีภาวะเลือดออก
การรักษา
อาจได้ยาสเตียรอยด์หยอดเพื่อป้องกันการเกิด rebleeding
ปิดตาทั้งสองข้างเพื่อให้ได้พักผ่อนลดโอกาสเกิด rebleeding
Absolute bed rest ท่านอนศีรษะสูงประมาณ 30-45 องศา
ดูเเลให้ได้รับยาแก้ปวด paracetamol เเละdiazapem
เพื่อให้พักผ่อนปละประเมินอาการปวดเตา
อาการ
ปวดตา
มีเลือดออกด้านหน้าของดวงตา
ตาพร่ามัว หรือการมองเห็นแคบลง
ตาแพ้แสง
สาเหตุ
ความผิดปกติของหลอดเลือดบริเวณด้านหน้าของม่านตา
ภาวะแทรกซ้อนจากการปลูกถ่ายเลนส์แก้วตา
การติเดชื้อที่ดวงตา
โรคเกี่ยวกับเลือด
ภาวะแทรกซ้อน
Rebleeding
Increase intraocular pressure
Blood stain cornea
ตราวจพบจากเครื่องมือแพทย์ ที่เรียกว่า Slit lamp
Grade 1
น้อยกว่า 1/3 ของช่องหน้าม่านตา
Grade 2
เลือดออก 1/3 ถึง 1/2 ของช่องม่านตา
Grade 3
เลือดออก 1/2 ถึงเกือบเต็มช่องหน้าม่านตา
Grade 4
มีเลือดออกเต็มช่องหน้าม่านตา
ความผิดปกติของจอประสาทตาจากโรคเบาหวาน
อาการเเละอาการแสดง
เบาหวานระยะรุนแรง (PDR)
เบาหวานระยะแรก (NPDR)
ตามัว
จอประสาทตาถูกดึงรั้งหลุดลอก
มีเลือดออกในวุ้นตา
อาจเกิดจากจอประสาทตาบวม
การพยาบาล
ควบคุมระดับนำ้ตาลให้คงที่
เพื่อลดอัตราการเกิดความผิดปกติ
ตรวจจอประสาทอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
รับประทานยาหรือฉีดยาลดระดับนำ้ตาลในเลือดอย่างสม่ำเสมอ
การรักษา
ยิงเลเซอร์ (PRP)
จุดรับภาพส่วนกลางบวม และในผู้ที่มีเส้นเลือดผิดปกติงอกใหม่
ฉีดยาในน้ำวุ้นตา
ข้อดี การมองเห็นจะกลับคืนมาได้เกือบเท่าหรือเท่าปกติ
กลุ่ม steroid ,ยากลุ่ม Anti VEGF
เพื่อรักษาโรคจุดกลางรับภาพจอประสาทตาบวมจากเบาหวาน
ข้อจำกัดยามีฤทธิ์ได้ชั่วคราวเฉลี่ย 3-4 เดือน และต้องการฉีดด้วยเทคนิคปลอดเชื้อในห้องผ่าตัด
การผ่าตัดน้ำวุ้นตา ((Vitecotomy)
กรณีที่โรครุนเรงจนมีเลือดออกหรือผังพืด
ป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยสูญเสียการมองเห็นอย่างทางการ
เเผลที่กระจกตา
การพยาบาล
เช็ดตาวันละ 1-2 ครั้ง
แนะนำห้ามขยี้ตา
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนและได้รับอาหารที่เพียงพอ
แยกเตียง แยกของใช้ และยาหยอดตาของผูั้ป่วยเป็นส่วนตัว
หยอดตาตามเเผนการรักษาของแพทย์
การป้องกัน
ล้างมือก่อนสัมผีสดวงตาและหลีกเลี่ยงการสัมผัสดวงตาโดยไม่จำเป็น
หากเกิดการติดเชื้อหรือบาดเจ็บที่ดวงตา ผู้ป่วยทางโทรศัพท์
ผู้ที่มีอาการตาแห้งหรือตาปิดไม่สนิทเป็นเวลานาน ควรรีบพบแพทย์ทันที
สวมอุปกรณ์ป้องกันดวงตาเสมอ
สาเหตุ
กระจกตามีภูมิต้านทานต่อเชื้อโรคต่ำ
มีความผิดปกติของกระจกตา
ความผิดปกติของหนังตา
อุบัติเหตุ (trauma)
การสวใใส่คอนเทคแเลนส์ไม่ถูกสุขลักษณะ
ขนตายาวจนอาจไปทิ่มหรือถูกับกระจกตา
การรักษา
หาเชื้อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อ
ขูดเนื้อเยื่อของแผลไปย้อมเเละเพาะเชื้อ
บรรเทาอาการปวดโดยให้รับประทานยาแก้ปวด
ส่งเสริมให้เกิดการแข็งแรงของร่างกาย
อาการ
แสบตา มีน้ำตาไหลออกมาตลอดเวลา
รู้สึกมีบางอย่างออกมาจากตา
มีหนองหรือของเหลวไหลออกมาจากตา
ตาอักเสบ เปลือกตาบวม
คนตา มัวตา
หู
เเบ่งออก
หูชั้นกลาง
เป็นโพรงอากาศอยู่ระหว่างเเก้วหูเเละหูชั้นใน
incus
Stapes
Malleous
หูชั้นใน
เป็นที่อยู่ของอวัยวะรับเสียงเเละอวัยวะทรงตัว
มี 2 ส่วน
Bony ladyrinth
Membranous labyrinth
หูชั้นนอก
ใบหู
รวมรวบคลื่นเสียง
รูหู
มีลักษณะเป็นรูปตัว S
เเก้วหู
Fribous Layer
Mucous Layer
Epithelium Layer
กลไกการได้ยิน
เเบ่งออกเป็น 2 ทาง
ได้ยินผ่านกระดูก (Bone conduction)
เสียงจากการสั่นของกระดูกผ่านกระดูก มาสตอยด์ เข้าไปถึงหูชั้นใน
ได้ยินผ่านทางอากาศ(Air conduction)
เสียงเข้าสู่ใบหูผ่านรูหูไปกระทบเเก้วหูจนเกิดการสั่นสะเทือนเข้าผ่านหูชั้นใน
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติ
มีอาการปวดหู
มีของเหลวไหลออกมาจากหู
มีอาการเวียนศีรษะ
ได้ยินเสียงในหู
อาการหูอื้อ
การตรวจ
ตรวจร่างกายภายนอก
ใช้ในการดูเเละการคลำ
ดูอาการบวม แดง มีฝี มีรู หรือไม่
การตรวจ Vestibular Function Test
Unterberger's Test
ทำเหมือน Romberg เเต่ยื่นมือไปข้างหน้า หลับตา เเละวอยเท้าอยู่กับที่
Romberg's Test
ยืนตรง ส้นเท้าเเละปลายเท้าชิดกัน มองตรงไปข้างหน้า
Gait Test
ให้เดินตามเเนวเส้นตรงระหว่างจุด 2 จุด เเล้วหมุนตัวเร็วๆกลับมาที่เดิม
การตรวจร่างกายภายใน
ตรวจช่องหูโดยเครื่อง Otoscopy
ตรวจดูเยื่อเเก้วหู
ถ้าตรวจเเล้วไม่พบความผิดปกติใดๆ ให้ตรวจศีรษะเเละคอด้วย
ช่องปาก
ดูเหงือก ฟันผุ ฟันคุด หรือเนื้องอก
ช่องจมูก
ไซนัส
ช่องคอ
กล่องเสียง
ต่อมน้ำเหลือง
หลอดคอ
การตรวจพิเศษ CT SCAN MRI
ตรวจพอเศษด้วยเครื่องมือ
Tuning fork Test
การเเปรผล
ระบบประสาทรับฟังเสียงบกพร่อง
ข้างดีจะได้ยินเสียงได้ชัดเจน
ถ้าคนปกติได้ยินทั้ง 2 ข้าง
ระบบนำเสียงบกพร่อง
ข้างที่มีปัญหาจะได้ยินเสียงที่ชัดเจน
การเเปรผล Rine test
Rine nagative
BC>AC
False negative Rine
BC>AC
Rine Test Positive
AC>BC
การตรวจโดยการใช้ส้อมเสียง
Audiometry
ตรวจการได้ยินเเบบไฟฟ้า
Weber Test
วินิจฉัยผู้ป่วยที่มีปัญหาการนำเสียงบกพร่อง
ตรวจการได้ยินโดยผ่านการนำเสียงกระดูก
Rine Test
จำเเนกประเภทของการสูญเสียการได้ยิน
ตรวจโดยการใช้คำพูด(Speech Adiometry)
Speech Discrimination
ประสิทธิภาพของหูในการเเยกเสียงเเละเข้าใจความหมายที่พูด พยางค์เดียว
Speech Reception (SRT)
เสียงพูดที่ต่ำสุดเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจคำพูด พยางค์ที่ฟังเเล้วคุ้นเคยมาก
ตรวจดู Nystagmus
ทำ Head Shaking (สั่นศีรษะในเเนวระนาบเเนวนอน 20 ครั้งป
เพื่อดูอาการเวียนศีรษะ
โรคหูชั้นนอก
สิ่งเเปลกปลอมในหูชั้นนอก
การรักษา
สิ่งมีชีวิต
ใช้ เเอลกอฮอล 70% หรือยาหยอดประเภทนำ้มันหยอดลงไปเเล้วคีบออก
สิ่งไม่มีชีวิต
นำ้สะอาดหรือเกลือปราศจากเชื้อหยอดจนเต็มหูเเล้วเทนำ้ออกหรือใช้ที่ล้างหูช่วย
อาการเเละการเเสดง
หูอื้อ สูญเสียการได้ยิน
เด็กเล็กมักพบของเล่นชิ้นเล็ก ยัดใส่ รูหู ทำให้เกิดอาการติดเชื้อ
ผู้ใหญ่มักพบเป็นเศษชิ้นส่วนของไม้พันสำลีหรือพวกเเมลง
ขี้หูอุดตัน (Cerum impactioon)
อาการ
หูอื้อ ปวดหู
การรักษา
ใช้เครื่องดูด โดยการล้าง
พยาธิสภาพ
ผู้สูงอายุต่อมสร้างขี้หูฝ่อ ทำให้ขี้หูเเห้งเเละเเข็ง
ส่วนมากเกิดจากขี้หูสร้างมากผิดปกติ
การวินิจฉัย
เเพทย์ใช้เครื่องมือ Otoscopy ส่องตรวจช่องหูชั้นนอก
เเก้วหูทะลุ (Ruptured eardrum)
สาเหตุ
เกิดจาการได้ยินเสียงดังจากวัตถุระเบิด
เกิดจากการเเคะหู หรือพยายามนำสิ่งเเปลกปลอมออกจากหู
อาการ
หูอื้อ มีเสียงในหู มีอาการปวดในรูหู
ภาวะเเทรกซ้อนหลังการผ่าตัด
อาการวิงเวียนศีรษะ
การอักเสบของกระดูกหลังหู
หูชั้นในอักเสบ
ใบหูชา
การรักษา
ถ้าอาการไม่หายภายใน 1-2เดือน ทำการซ่อมเเซมเยื่อแก้วหู Maringoplasty
ทิ้งไว้เฉยๆ ไม่ต้องล้าง
ไม่ต้องหยอดยาที่หู เเต่รับประทานยากันติดเชื้อ
ไม่ต้องทำความสะอาดภายในช่องหู
ไม่ต้องเอาลิ่มเลือดออก
การดูเเลหลังการผ่าตัด
ควรเคี้ยวอาหารด้านตรงข้ามกับที่ผ่าตัด
ให้รับประทานยาตามที่เเพทย์สั่ง ถ้ามีอาการปวดให้ทานยาเเก้ปวด
ไอหรือจามควรเปิดปากเสมอ
ห้ามทำงานหนักหรือยกของหนัก
หลัการผ่าตัด 24 ชม.ควรนอนสูงหรือนอนตะเเคงข้างที่ไม่ได้ผ่าตัด
โรคหูชั้นกลาง
หูนำ้หนวก
เป็นภาวะที่มีการคลั่งของของเหลวในหูชั้นกลาง
เเบ่งออกเป็น
Acute Otitis Media
รักษา
รักษาทางยา ทานยาเเก้เเพ้ลดอาการคัดจมูกเเละยาปฏิชีวนะร่วมด้วย
การทำ Maringstomy : หลังทำห้ามนำ้เข้าหู หรือเเคะหู
อาการ
มีอาการปวดหู เยื่อเเก้วหูนูนโป่ง
รู้สึกเหมือนมีน้ำอยู่ในหูตลอด
สูญเสียการได้ยิน หูอื้อ เวลาพูดรู้สึกก้องในหู
สาเหตุ
ขณะเครื่องบินลง Barotrauma
เป็นหวัด คัดจมูก คออักเสบ
เพดานโหว่
เกิดในช่วงเวลาสั้นน้อยกว่า 3 สัปดาห์
Serous Otitis Media
อาการระหว่าง 3 สัปดาห์-3 เดือน
Adhesive Otitis Media
เป็นานอาจเป็นหลายปี
Chroic Otitis Media
รักษา
การทำผ่าตัด Thypanoplasty อาจจะต้องทำ Mastoidectomy
อาจจะทำให้เกิดอัมพาตของใบหน้าได้
ให้ทานยา ยาปฏิชีวนะ ยาเเก้ปวด ยาเเก้เเพ้ รวมทั้งยาหยอดหูในบางราย
อาการ
เยื่อเเก้วหูทะลุ มีนำ้หนองไหล หูอื้อหรือไม่ก็สูญเสียการได้ยิน
โรคหินปูนเกาะฐานกระดูกโกลน
สาเหตุ
ไม่ทราบเเน่ชัด
อาจเกิด Measie virus
อาการเเละอาการแสดง
หูอื้อ เสียนศีรษะ บ้านหมุนขณะเปลี่ยนท่า เสียงในหู
การรักษา
ใช้เครื่องฟัง สำหรับสูญเสียการฟังไม่มาก
วิธีผ่าตัด : ใส่วัสดุเทียมเข้าไปทำหน้าเเทน
การบาดเจ็บขากเเรงดันหู
อาการเเละอาการแสดง
ปวดหู แน่นหู หรือสูญเสียการได้ยิน รวมกับการขึ้นเครื่องบินหรือดำน้ำ
สาเหตุ
ผลการเปลี่ยนเเปลงความดัยอากาศหรือความดันในหูชั้นกลาง
พยาธิสภาพ
เส้นเลือดฉีกขาด ทำให้เกิดของเหลวหรือเลือดคั่งในหูชั้นกลาง
การป้องกัน
พยายามปรับความดัน
การพยาบาลก่อน-หลังผ่าตัด
รู้สึกเวียนศีระษะให้นอนพัก
ประเมินภาวะปากเบี้ยว ตาปิดไม่สนิท ชาที่หน้า
ทานอาหารอ่อน
นอนราบตะแคงข้างไม่ผ่าตัด
อย่าให้นำ้เข้าหู
ห้ามยกของหนักมากๆนาน 2 สัปดาห์
ห้ามก้มมากๆ
ไอจามเปิดปากทุกครั้ง
ห้ามสั่งน้ำมูก2-3สัปดาห์
โรคหูชั้นใน
โรคหินปูนในหูชั้นในหลุด (โรคเวียนหัว ขณะเปลี่ยนท่า)
การป้องกัน
เวลานอนควรนอนหมอนสูง หลีกเลี่ยงการนอนราบ
เวลาทำอะไรควรทำอย่างช้าๆ
หลีกเลี่ยงการก้มเก็บสิ่งของ
อาการเเละการแสดง
อาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน รู้สึกโครงเครง สูญเสียการทรงตัว
สาเหตุ
เสื่อมตามวัย
อุบัติเหตุ
การติดเชื้อ
การรักษา
รักษาด้วยยา บรรเทาอาการเวียนศีรษะ
การผ่าตัด จะใช้ในกรณีที่รักษาด้วยยาและกายภาพไม่สำเร็จ
ทำกายภาพบำบัด เป็นการขยับศีรษะและคอ
โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน
การรักษา
การกินยาขยายหลอดเลือด อิสตามีน จะช่วยในการไหลเวียนไปที่หูเพิ่มมากขึ้น
เมื่อมีอาการเวียนศีรษะควรหยุดเดินหรือนั่งพัก
หลีกเลี่ยงเดินทางด้วยเรือ
ถ้าอาการดีขึ้นควรออกกำลังกายสม่ำเสมอ
สาเหตุ
ไม่ทราบชัดเจน
อาการ
ทำให้หูอื้อ ได้ยินไม่ชัดเจน
ประสาทหูเสื่อม
แน่นในหู มีเสียงดังในหู อาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน
โรคอาการเวียนศีรษะ
การปฎิบัติการพยาบาล
แนะนำการเคลื่อนไหว โดยให้เคลื่อนไหวช้าๆ
ขระมีอาการเวียนศีรษะควรนอนพักนิ่งๆบนเตียง
แนะนำการออกำลังกาย แต่ไม่ควรออกที่หนักเกินไป
แนะนำให้ความรู้โดยเฉพาะในเรื่องโรคและการรักษา เพื่อให้ผู้ป่วยนั้นดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ
จัดสิ่งแวดล้อมต่างๆให้เหมาะสมและช่วยให้ผู้ป่วยนั้นสามารถพักผ่อน
ประสาทหูเสื่อมเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
การได้ยินลดลงในหูข้างหนึ่งอย่างเฉียบพลัน
อาการเวียนศีระษะร่วมด้วย
หูอื้อ
สาเหตุ
ไม่ทราบชัดเจน อาจเกิดจาก
การติดเชื้อ
การรั่วของนำ้ในหูชั้นใน
การอุดตันของเลือดไปเลี้ยงที่หูชั้นใน
การบาดเจ็บ
การรักษา
ยาขยายหลอดเลือด เพื่อเพิ่มเลือดไปเลี้ยงที่หูเพิ่มมากขึ้น
ยาวิตามิน บำรุงประสาทหูที่เสื่อม
รักษาตามสาเหตุ
การนอนพัก
ยาลดอาการเวียนศีรษะ ถ้ามีอาการ
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงยาที่มีพิษต่อหู
หลีกเลี่ยงการติดเชื้อที่หู
หลีกเลี่ยงเสียงดัง
ถ้าเป็นเบาหวาน ความดันสูง ไขมันในเลือดสูง ซีด ต้องควบคุมอาการได้ดี
หูตึงเหตุจากสูงอายุ
สาเหตุ
อายุที่เพิ่มขึ้น
การรับเสียงดัง
การใช้ยา
อาการและอาการแสดง
การได้้ยินเสียงลดลงอย่าวค่อยเป็นค่อยไป
การรักษา
ใช้เครื่องช่วยฟังเป็นหลัก
การจำกัดเเคลอรี่ช่วยลดปริมาณไขมันในร่างกาย
จมูก
เลือดกำเดาไหล
การพยาบาล
ห้ามยกของหนักหรือออกเเรงมากๆ
อ้าปากเวลาจาม
เมื่อเอาตัวกดเลือดออกเเล้วควรนอนพักนิ่งๆ 2-3 ชม.
ห้ามสั่งน้ำมูกหรือแกะแผล
อาจมีหูอื้อได้ เเต่จะหายเมื่อเอาตัวกดเลือดออก เอาออกหลังใส่ 48-72.ชม
ประคบเย็นเเละให้ยาเเก้ปวดเพื่อลดอาการบวม
จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา
หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนที่จมูก
สังเกตผ้าก๊อซ ถ้าเลื่อนต้องตัดใหสั้นห้ามดึงออกเอง
นอนพักผ่อนให้เพียงพอ
สาเหตุ
เกิดการฉีกขาดของหลอดเลือที่เยื่อบุจมูก
อาการ
เลือดออกผนังกั้นจมูกส่วนหน้า
พบมากในเด็กเเละหนุ่มสาว
เลือดออกผนังกั้นจมูกส่วนหลัง
พบในผู้สูงอายุ
การรักษา
เลือดออกผนังกั้นจมูกส่วนหน้า
ใช้สารเคมีหรือไฟฟ้า เพื่อหยุดตำแหน่งที่เลือดออก
ใส่ผ้าก๊อซที่มียาปฏิชีวนะ เพื่ออุดตำแหน่งที่มีเลือดออก
เลือดออกผนังกั้นจมูกส่วนหลัง
ใช้ Gauze balloon Foley's เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด
ริดสีดวงจมูก
การรักษา
การรักษาที่เกิดร่วมเเละป้องกันการเกิดซ้ำ
เเพทย์จะต้องหาสาเหตุให้พบ ไม่ฉะนั้นอาจจะต้องผ่าตัดซ้ำหรือไม่ต้องรักษาซ้ำ
เเนะนำให้ทำความสะอาดโพรงจมูกโดยการล้างจมูก ด้วยน้ำเกลือปราศจากเชื้อทุกวัน
การให้ยาเพื่อป้องกันการเกิดซ้ำ
Prednisolone ร่วมกับกลุ่มยา Steroid เพื่อพ่นจมูก
กำจัดริดสีดวงโดยการทำ
การใช้ยากลุ่ม steroid พ่นจมูกเพื่อให้ติ่งยุบลง
Surgical Polypectomy
Nasal polyp
คือการใช้ลวดคล้องเเล้วดึงออก
Amtrochonal poly
สาเหตุ
อาจเกิดจากการเป็นหวัดนานๆ จากการเเพ้ ติดเชื้อของเยื่อจมูก
อาการ
เเน่นจมูก
หายใจไม่สะดวก
คันจมูก
เสียงขึ้นจมูก
อาจได้กลิ่นลดลงหรืออาจไม่รู้สึก
การพยาบาล
เลี่ยงการเเปรงฟันบริเวณที่เป็นเเผล
ไม่ควรไอ จาม เเรงๆ เเละต้องเปิดปาก
ประคบเย็น บรรเทาอาการ 48 ชั่วโมงเเรก
ไม่ควรออกกำลังกาย หรือยกของหนัก รวมทั้งการทำงานหนัก
จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา เพื่อลดอาการบวม เเละจะหายใจได้สะดวกขึ้น
ไซนัส Sinusitis
การรักษา
รับประทานยาปฏิชีวนะเเละยารักษาตามอาการ
ภาวะแทรกซ้อน
ทางตา
ตาบวม เจ็บตา กลอกตาเเล้วเจ็บ
มองภาพซ้อนหรือเห็นภาพไม่ชัด
ทางสมอง
ปวดศีรษะ มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
มองภาพซ้อนหรือเห็นภาพไม่ชัด
อาการ
อาการคัดจมูกหรือเเน่นจมูก
เเน่นบริเวณใบหน้า อาจมีการรับกลิ่นเสียไป
มีน้ำมูกไหลออกมาทางรูจมูกด้านหน้า หรือไหลลงคอ อาการปวดร่วมด้วย
ตำเเหน่ง
Ethmoidal Sinus
Sphenoidal Sinus
Maxillary Sinus
Frontal Sinus
สาเหตุ
ด้านร่างกาย
ภูมิต้านทานต่ำ
การเปลี่ยนเเปลงของอากาสที่เย็นจัด
โรคเลือด
ฝุ่นละออง
การอักเสบของจมูก เนื้องอกในจมูก
การถอนฟัน ฟันผุ การสั่งน้ำมูกเเรงๆ
ช่องปากและลำคอ
Tomsillitis and Adenoiditis
แพทย์จะพิจารณาตัดต่อมทอนซิล
เป็นภาวะต่อมทอนซิลอักเสบเรื้อรังที่รักาาด้วยาไม่ๆด้ผล หรือเกิดการอักเสบปีละหลายครั้งติดต่อกัน ทำให้ผู้ป่วยมีคุรภาพชีวิตที่แย่ลง
ผู้ป่วยที่มีต่อมทอนซิลโต และแพทย์สงสัยว่าอาจเป็นมะเร็.ของต่อมทอนซิลโดยตรง
เมื่อต่อมทอนซิลโตมากๆ ทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
หน้าที่
หน้าที่หลัก
จัลและทำลายเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย
หน้าที่รอง
สร้างภูมิคุ้มกัน
อาการ
ไข้ ไอ เจ้บคอ กลืนลำบาก
สาเหตุ
อาจเกิดจากภาวะภูมิเเพ้ หอบหืด ไวรัส
เกิดจากแบคทีเรียรวมทั้งเชื้อไวรัส
การเกิดต่อมทอนซิลอัดเสบนั้น โดยเชื้อทำให้เกิดคือ Streptococci group A
การผ่าตัด Tomsillitis and Adenoiditis
ผ่าตัดแล้วมีโอกาสที่จะเป้นซ้ำได้ในภาวะต่อมทอนซิลอักเสบ 4-5 ปี
มีการกลืนลำบาก
จะทำต่อเมื่อรักาาด้วยยาไม่ได้ผล
ภาวะแรกซ้อน สูญเสียการได้ยิน มีการอักเสบของหูชั้นกลาง
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการไปที่ชุมชนใน 7 วันแรก เพื่อป้องกันการเอาเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
หลีกเลี่ยงแาหารที่เผ็ดร้อน เปรี้ยว เนื่องจากอาจทำให้ระคายเคืองคอได้
อธิบายหลังการผ่าตัดว่าอาจมีอาการที่ไม่พึงประสงค์ เช่น อาเจียนใน 24 ชม.เเรก มีอาการเจ็บคอ ปวดหู
แนะนำให้ทานของเย็น เพื่อช่วยลดอาการบวม รวมถึงบรรเทาอาการปวดได้
แนะนำการทำกิจกรรมที่ต้องใช้งดเสียง
นางสาวญาณกร ธรรมปาพจน์ ปี 2 รุ่นที่ 37