Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิจัยที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย - Coggle Diagram
วิจัยที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ข้อมูลของรายงานวิจัย
ผู้วิจัย
นางสาวนุจิรา เหล็กหล้า
ปีที่พิมพ์
ปี พ.ศ 2561
ชื่อเรื่องวิจัย
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์โดยใช้เกมการศึกษาของเด็กปฐมวัยชั้นปีที่2 โรงเรียนบ้านบางแก้ว
สถานบัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
ปัญหาการวิจัย
เกมการศึกษาไม่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอื่น
พัฒนาการด้านการใช้ภาษา
พัฒนาการด้านการคิดแก้ปัญหา
ไม่ได้มีการเปรียบเทียบผลของการจัดกิจกรรมโดยใช้เกมการศึกษาในระดับปฐมวัยชั้นปีที่1และ2
ไม่ได้พัฒนาเกมการศึกษาเพิ่มเติมในหน่วยการเรียนรู้อื่นๆ
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรตาม
ทักษะพื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ทักษะด้านการจำแนกกลุ่ม
ทักษะด้านการเปรียบเทียบ
ทักษะด้านการเรียงลำดับ
ทักษะด้านการนับและการรู้ค่าจำนวนตัวเลข1-20
ทักษะด้านมิติสัมพันธ์
ตัวแปรต้น
การจัดกิจกรรมโดยใช้เกมการศึกษา
ทบทวนวรรณกรรมบทที่2
เกมการศึกษา
ทักษะพื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์
การวัดและประเมินผมเด็กปฐมวัย
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ2546
ความพึงพอใจ
บริบทโรงเรียนบ้านบางแก้ว
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อ
ความมุ่งหมายของวิจัย
1.เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยชั้นปีที่2 ก่อนและหลังการใช้เกมการศึกษา
2.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของเด็กปฐมวัยชั้นปีที่2 ที่มีต่อการพัฒนาทักษพื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์โดยใช้เดมการศึกษา
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือ
การวิเคราะห์ความยากง่ายของข้อสอบ
ค่าอำนาจแจกแจง
หาค่าความเชื่อมั่น
หาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน
วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียน
วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบประเมินความพึงพิใจของเด็กกลุ่มตัวอย่าง
ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สถิติพื้นฐาน
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ค่าเฉลี่ย
เครื่องมือและการหาคุณภาพ
นวัตกรรมที่ใช้ในการวิจัย
เกมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางด้านคณิตศสตร์โดยใช้เกมการศึกษา
ด้านการจำแนกจัดกลุ่ม
ด้านการนับและรู้ค่าจำนวนตัวเลข1-20
ด้านการเปรียบเทียบ
ด้านมิติสัมพันธ์
ด้านการเรียงลำดับ
เครื่องมือที่ใช้ในกาวิจัย
แบบทดสอบประเมินทักษะพืนฐานทางด้านคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัย
แบบประเมินทักษะด้านการเรียงลำดับ
แบบประเมินทักษะด้านการจำแนกกลุ่ม
แบบประเมินทักษด้านการเปรียบเทียบะ
แบบประเมินทักษะด้านการนับและการรู้ค่าจำนวนตัวเลข1-20
แบบประเมินทักษะด้านมิติสัมพันธ์
แบบประเมินความพึงพอใจต่อทักษะพืนฐานทางด้านคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัย
แบบประเมินความพึงพอใจด้านการเรียงลำดับ
แบบประเมินความพึงพใจด้านการจำแนกกลุ่ม
แบบประเมินความพึงพอใจด้านการเปรียบเทียบ
แบบประเมินความพึงพอใจด้านการนับและการรู้ค่าจำนวนตัวเลข1-20
แบบประเมินความพึงพอใจด้านมิติสัมพันธ์
กลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
จำนวน 2 ห้องเรียน
จำนวน 32 คน
เด็กปฐมวัยชั้นปีที่2 โรงเรียนบ้านบางแก้ว
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้้
เด็กปฐมวัยชั้นปีที่2 โรงเรียนบ้านบางแก้ว
ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2560
จำนวน 18 คน
ได้มาจากการแบ่งกลุ่มแบบสุ่ม