Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลในงานอนามัย Implementation & Evaluation, นาย สุทธิพงษ์…
กระบวนการพยาบาลในงานอนามัย Implementation & Evaluation
การปฏิบัติงานตามแผน (Implementation)
แผนงานหลัก( Master plan) & แผนงานรอง ( Sub plan)
นิยมเรียก "โครงการของกระบวนการอนามัยชุมชน"(Community Health Nursing Processes)
เพื่อสร้างเสริม ( Promote) คงไว้ ( Maintain) /พื้นฟู (Rehabilitation)
ส่วนประกอบ
ความรู้ (Cognitive)
การมีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มเป้าหมาย
ทักษะที่สำคัญ (Technical skill)
จริยธรรม&วัฒนธรรมของท้องถิ่น
กระบวนการสื่อสาร
ประโยชน์ของการประเมินผลการปฎิบัติงาน
ทราบถึงความก้าวหน้าของการคำเนินงาน จุดอ่อนจุดแข็ง
ช่วยในการจัดสรรทรัพยากร และบุคลากร
ทราบถึงระดับความสำเร็จของงาน & ผลข้างเคียง
ช่วยในการสร้ายขวัญและกำลังใจให้ผู้ปฏิบัติงาน
ช่วยในการพัฒนาปรับปรุงแผน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Evaluation)
เพื่อปรับปรุงกิจกรรมการทำงาน
สนับสนุนการวางแผน
เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์อย่างเป็นระบบ
อาศัยกระบวนการติดสินใจ
เครื่องชี้ภาวะ
เกณฑ์
เครื่องมือ
ขึ้นตอนการปฏิบัติทนในชุมชน
1.ขึ้นเตรียมงาน
กำหนดรูปแบบแนวทางการประสานงาน
ตรวจสอบความพร้อมของทรัพยากร & งบประมาณ
กำหนดบุคคล&แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย : วันเวลาสถานที่ หัวข้อ
จัดประชุ่มกลุ่มศึกษา
2.ขั้นดำเนินการ
การปฏิบัติตามมาตรฐานของวิชาชีพอย่างเคร่งครัด
การติดตาม & ควบคุม
แผนผังกำกับงาน
ผังแกนท์ ( Gant chart)
แผนภูมิการดำเนินการ
ควบคุม นิเทศ & ติดตามงาน : การควบคุม
บุคลากร
ด้านการเงิน
ผลการปฏิบัติงาน
ทรัพยากรทางกายภาพ
เทคนิควิธีการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติตามแผนงาน
การปฏิบัติกิจกรรมที่กำหนดไว้ตามชั้นตอน
การบันทึกการปฏิบัติงาน : รายงานผลการปฏิบัติ
ขั้นตอนการปฏิบัติงานตามแผนกิจกรรม
ดำเนินกิจกรรม
บันทึกการดำเนินกิจกรรม
ไปยังจุดนัดหมายก่อนเวลา
รวบรวมสิ่งของเครื่องใช้ ทำความสะอาด
นัดหมายผู้รับผิดชอบ
รวบรวมรายงาน & สรุปการดำเนินงาน
จัดเตรียมอุปกรณ์
การดำเนินประเมินผลของโครงการ
2.ระหว่างการปฏิบัติงาน
องค์ประกอบส่วนไหนดำเนินงานประสบความสำเร็จ
การให้บริการ คอบคลุมเป้าหมาย
ผลการปฏิบัติของโครงการ
ปัจจัยนำเข้าต่างๆ
3.หลังเสร็จสิ้นโครงการ
การวัดความเพียงพอ : ครอบคลุมประชากรมากน้อย ? (Evaluation of Adequacy)
การวัดความเหมาะสม : พิจารณาความจำเป็นการยอมรับของประชากร (Evaluation of Appropriatens)
การวัดประสิทธิผล (Evaluation of Effectiveness)
กาวัดผลข้างเคียง : พิจารณาผลดีผลเสียของโครงการนอกเหนือวัตถุประสงค์(Evaluation of side-effect)
การวัดประสิทธิภาพ ( Evaluation of Efficiency)
1.ก่อนการปฏิบัติงาน
กิจกรรม&แผนงานสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ?
การบริหาร&จัดการ กำหนดชัดเจน?
การกำหนดวัตถุประสงค์ของแผนงานและวัตถุประสงค์
ด้านเทคนิคในการดำเนินงาน
แผนงานสอดคล้องกับนโยบาย&ปัญหา?
ความพร้อมด้านงบประมาณสิ่งแวดล้อมสังคม
ปัญหาของชุมชนชัดเจน?
นาย สุทธิพงษ์ เสนามนตรี รหัสนักศึกษา 601318