Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มี การเจ็บป่วยทางจิตเวช - Coggle…
บทที่ 4
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มี
การเจ็บป่วยทางจิตเวช
เด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา (intellectual disability)
ภาวะปัญญาอ่อน (mental retardation) หมายถึง ภาวะที่เกิดขึ้นในระยะพัฒนาการจากการที่สมองของเด็กหยุดพัฒนาหรือมีการพัฒนาอย่างไม่สมบูรณ์
ลักษณะประกอบกันของใน 3 ลักษณะ
ความบกพร่องทางสติปัญญา
(deficits in intellectual function)
ความบกพร่องของการปรับตัว
(deficits in adaptive function)
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญาและการปรับตัวดังกล่าว
เกิดขึ้นตั้งแต่ในระยะของพัฒนาการ
1) มีพัฒนาการล่าซ้ำ
2) มีความบกพร่องด้านเชาว์ปัญญา
3) มีปัญหาด้านพฤติกรรม
4) มีลักษณะผิดปกติของรูปร่างอวัยวะต่าง ๆ
ความบกพร่องในการทำหน้าที่ 3 ด้าน
ความคิด (conceptual domain)
สังคม (social domain)
การปฏิบัติ (practical domain)
ระดับความรุนแรง
ของภาวะ
บกพร่องทางสติปัญญาเป็น 4 ระดับ
1) บกพร่องทางสติปัญญาเล็กน้อย (mild intellectual disability)
ระดับ IQ 50-69ต้องการความช่วยเหลือเป็นครั้งคราว พบร้อยละ 80
มักได้รับการวินิจฉัยเมื่อเด็กเข้าสู่วัยเรียนแล้ว
2) บกพร่องทางสติปัญญาปานกลาง (moderate intellectual disability)
ระดับ IQ 35-49ต้องการความช่วยเหลือปานกลาง พบร้อยละ 12
มักได้รับการวินิจฉัยตั้งแต่วัยก่อนเรียน
3) บกพร่องทางสติปัญญารุนแรง (severe intellectual disability)
ระดับ IQ 20-34 ต้องการความช่วยเหลือมาก พบร้อยละ 3-4
ความผิดปกติของพัฒนาการพบได้ตั้งแต่ขวบปีแรก
4) บกพร่องทางสติปัญญารุนแรงมาก (profound intellectual disability)
ระดับ IQ < 20ต้องการความช่วยหลือตลอดวลา พบร้อยละ 1:2
พบความบกพร่องทางสติปัญญาตั้งแต่แรกเกิด อาจมีความ
พิการทางหน้าตาและร่างกายร่วมด้วย
สาเหตุของเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
1) ปัจจัยทางพันธุกรรม
down syndrome
flaggy X syndrome
phenylketonuria
2) ปัจจัยในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
การใช้แอลกอฮอล์ยาหรือสารเคมีอื่น ๆ
ระยะคลอด
คลอดก่อนกำหนด เด็กทารกจะมีน้ำหนักตัวแรกคลอด
ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน กระบวนการคลอดนานผิดปกติ
สมองได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
ระยะหลังคลอด
โรคที่เกิดในวัยเด็ก เช่น โรคไอกรน โรคอีสุกอีใส
โรคหัด อาจนำไปสภาวะเยื่อทหุ้มสมองอักเสบ
3) ปัจจัยทางจิตสังคม
ครอบครัวแตกแยกและผู้เลี้ยงดูมีความผิดปกติทางจิต
เช่น ซึมเศร้า หรือติดสารเสพติด
ส่งผลให้ด็กไม่ได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม
การบำบัดรักษาเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
การรักษาโรคทางกาย
กายภาพบำบัด
การจัดโปรแกรมการฝึกทักษะที่จำเป็นในการเรียนรู้
กิจกรรมบำบัด
อรรถบำบัด
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
การพื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ
การให้คำแนะนำครอบครัว
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
1) การประเมินสภาพ (assessment)
การซักประวัติ
เป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอาการสำคัญ
การประเมินด้านร่างกาย
(physical assessment)
ตรวจตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า
ผลการตรวจอื่น ๆ
การซักถามพ่อ แม่ หรือผู้ใกล้ชิด
สังเกตจากพฤติกรรมการเล่นของเด็ก
การตรวจสภาพจิต
สีหน้าท่าทาง การแสดงออกการรับรู้ สภาพแวดล้อม
การพูดและการใช้ภาษา อารมณ์ ความคิดและการรับรู้ต่อตนเอง
ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น การเคลื่อนไหว สติปัญญา ความจำ
สมาธิ ภาพลักษณ์ การตัดสินใจและกาปัญหา ความสนใจ
ใช้แบบคัดกรองพัฒนาการ
แบบคัดกรองพัฒนาการอนามัย 55
(พัฒนาการเด็กปฐมวัย)
คู่มือคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ขวบ
(Thai Deployment Skills Inventory: TDSI)
ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
(gross motor: GM)
ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา
(fine motor: FM)
ด้านการเข้าใจภาษา
(receptive language: RL)
ด้านการใช้ภาษา
(expressive language: EL)
ด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม
(personal social: PS)
การประเมินด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ
สัมพันธภาพในครอบครัว
ลักษณะนิสัยและบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวแต่ละคน
รูปแบบการติดต่อสื่อสารของบุคคลในครอบครัว
รูปแบบการเลี้ยงดู
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สามารถสื่อสารบอกความต้องการของตนเองได้
เนื่องจากพัฒนาการด้านการใช้ภาษาล่าช้า
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากอยู่ไม่นิ่ง
และการทรงตัวไม่ดีกล้ามเนื้ออ่อนแรง
มีความกพร่องในการช่วยเหลือตนเองที่เหมาะสมตามวัย
เนื่องจากพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดเล็กล่าช้า
3) การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาลต่อตัวเด็กที่มีภาวะบกพร่อง
ทางสติปัญญา มีด้วยกัน 3 ลักษณะ
ลักษณะที่ 1
การส่งเสริมพัฒนาการตามความสามารถของเด็กที่มี
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา โดยใช้หลักพัฒนาการตามวัยปกติ
ลักษณะที่ 2
การช่วยเหลือเด็กที่มีภาวะบกพร่อง
ทางสติปัญญาที่มีปัญหาทางจิตเวช
ลักษณะที่ 3
ด้านการศึกษาและการฝึกอาชีพ เด็กที่มีภาวะบกพร่อง
ทางสติปัญญาควรได้รับการศึกษตามความสามารถอย่างเหมาะสมตามวัย
การช่วยเหลือครอบครัว ในระยะที่พ่อแม่มีความรู้สึกสูญเสีย
เศร้าโศก ในการมีลูกที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
การป้องกันภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ในระยะก่อนตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด
และระยะหลังคลอด
4) การประเมินผล (evaluation)
ประเมินผลที่เกิดขึ้นว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้หรือไม่
โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมินผลที่ได้กำหนดไว้
โรคพฤติกรรมเกเร
โรคพฤติกรรมเกเร (conduct disorder หรือ CD)
กลุ่มโรคที่มีความผิดปกติของพฤติกรรม
โดยจะเริ่มแสดงอาการตั้งแต่วัยเด็กหรือวัยรุ่น ด้วยการมีพฤติกรรมกรรม ก่อกวน เป็นปัญหา และไม่สามารถ
ควบคุมอารมณ์และพฤติกรมของตนเองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้นได้
สาเหตุของโรคพฤติกรรมเกเร
ปัจจัยทางชีวภาพ
ยีนที่ทำให้เกิดอาการโรคสมาธิสั้น
มีการตอบสนองของระบบประสาทอัตโนมัติ
สมองส่วน paralimbic system ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุม
เรื่องของแรงจูงใจและอารมณ์มีความผิดปกติ
สารสื่อประสาท มีระดับของ
dopamine และ serotonin สูง แต่มี CSF 5HAA
ฮอร์โมนเพศชาย (testosterone hormone)
การที่ได้รับสารพิษตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา
สติปัญญาในระดับต่ำและมีผลการเรียนไม่ดี
การมีโรคความผิดปกติของการเรียนรู้
หรือป่วยเป็นโรคสมาธิสั้น ซนอยู่ไม่นิ่ง
ปัจจัยด้านจิตสังคม
ลักษณะพื้นอารมณ์
วิธีการเลี้ยงดูของพ่อแม่
ได้รับความกระทบกระเทือนทางจิตใจ
การไม่รับการยอมรับจากเพื่อนก็มีอิทธิพลอย่างมาก
ลักษณะอาการและอาการแสดง
มักเกิดกับเด็กโตหรือวัยรุ่นตอนต้น
ผู้ชายจะเริ่มแสดงอาการช่วงอายุ 10-12 ปี
ผู้หญิงจะเริ่มแสดงอาการช่วงอายุ 14-16 ปี
อาการสำคัญ
มีการล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น
ฝ่าฝืนกฎเกณฑ์ของสังคมในช่วง12 เดือนที่ผ่านมา
ขโมยของ
มีปัญหาเกี่ยวกับการเรียน
มีพฤติกรรมไม่เชื่อฟัง
เสพยาเสพติด
ถ้ามีอาการรุนแรงมากขึ้นจะมีการชิงทรัพย์ จี้ ปล้น ข่มขืน
การบำบัดรักษา
การรักษาทางกาย
การรักษาโรคต่างๆ ที่พบร่วมกับพฤติกรรมเกเร
การรักษาทางยา
antipsychotics
เช่น haloperidol (haldol), risperidone
(risperdal) และ olanzapine (zyprexa)
ในกรณีที่เด็กมีพฤติกรรมก้าวร้าว เป็นอันตรายต่อผู้อื่น
โรคอารมณ์สองขั้ว ให้ยา
lithium
ก้าวร้าวและมีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา ให้ยา
propranolol
อาการหุนหันพลันแล่น หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่ายอารมณ์ขึ้นๆลงๆ
s
elective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs)
เช่น fluoxetine (prozac), sertraline (zoloft),
paroxetine (paxil) ละ citalopram (celexa)
การรักษาทางจิต
การให้คำปรึกษารายบุคคล
ส่งเสริมให้เด็กมีทักษะการเรียนรู้และทักษะการเข้าสังคม
การบำบัดเพื่อเพิ่ม self-esteem
การรักษาทางสังคม
การบำบัดครอบครัว
การอบรมพ่อแม่
การรักษาทางอารมณ์
การบำบัดในเรื่อง anger management หรือดนตรีบำบัด
ในกรณีที่เด็กมีอารมณ์โกรธอย่างรุนแรงไม่สามารถควบคุมตนเองได้
การบำบัดทางจิตวิญญาณ
ช่วยให้เด็กเข้าใจตนเอง ค้นพบตนเอง มีจุดมุ่งหมาย
หรือมีความหวังในชีวิต มีสิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ
การพยาบาลโรคพฤติกรรมเกเร
1) การประเมินสภาพ
การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์
สังเกตพฤติกรรมของเด็ก
ก่อนที่จะมีการสัมภาษณ์พ่อแม่และ/หรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง
ควรมีการแจ้งให้เด็กทราบด้วย
การประเมินเด็กต้องเป็นไปในลักษณะของการที่ไม่ตัดสินเด็ก
มีการประเมินทุกมิติทั้งทางกาย วาจา จิตใจ อารมณ์
พฤติกรรม การรู้คิด และสังคม
ประเมินระดับความรุนแรงของพฤติกรรมที่มีปัญหา
ระยะเวลาที่เริ่มมีพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
พ่อแม่หรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องมีการจัดการ
กับพฤติกรรมที่เป็นปัญหานั้นอย่างไร
เด็กเคยรับการรักษาหรือไม่/อย่างไร
ประเมินว่าเด็กมีอาการของโรคสมาธิสั้น
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะเสี่ยงต่อการใช้ความรุนแรงเนื่องจากมี
กระบวนการแก้ปัญหาที่ไม่เหมาะสม
มีภาวะเสี่ยงต่อการทำร้ายตนเองและ/หรือบุคคลอื่น
เนื่องจากไม่สามารถควบคุมอารมณ์โกรธได้
มีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากครอบครัวซึ่งเป็นตัวแบบของเด็กมีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ไม่มีประสิทธิภาพ
มีการติดต่อสื่อสารที่ไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจกครอบครัว
มีวิธีการติดต่อสื่อสารที่ไม่เหมาะสม
มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่องเนื่องจาก
ขาดความมั่นใจในตนเองและมองโลกในแง่ลบ
3) การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดกับเด็กและครอบครัว
สื่อสารกับเด็กและครอบครัวให้ชัดเจนเกี่ยวกับ
พฤติกรรมที่ทีมสหสาขาวิชาชีพ
ฝึกสอนทักษะทางสังคม
ฝึกทักษะการแก้ไขปัญหา
สอนให้เด็กรู้จักประเมินการตอบสนองต่างๆ
หลังจากที่เด็กมีความขัดแย้งกับบุคคลอื่น
ฝึกทักษะการควบคุมความโกรธ
parenting program
ฝึกให้พ่อแม่ตั้งความหวัง เข้าใจ และแปลความหมาย
ของพฤติกรรมต่างๆกับลูกอย่างเหมาะสม
ฝึกให้พ่อแม่กำหนดขอบเขตพฤติกรรมที่พ่อแม่ไม่ยอมรับไว้
อย่างชัดเจน และมีการลงโทษที่สมเหตุสมผล
ส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวมีการสนับสนุนทางอารมณ์
เป็นกำลังซึ่งกันและกัน
ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมและบริบทต่างๆ
ของเด็กให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
4) การประเมินผล (evaluation)
ประเมินผลที่เกิดขึ้นว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์
ที่ได้กำหนดไว้หรือไม่ พฤติกรรมต่างๆที่เป็นปัญหาลดลงหรือไม่
เด็กสามารถควบคุมตนเองได้ดีเพียงใด
รวมทั้งเด็กมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นหรือไม่
โรคสมาธิสั้น
(attention-deficit/ hyperactivity disorder: ADHD)
- อาการซนไม่อยู่นิ่ง
เคลื่อนไหวมากกว่าปกติ กระวนกระวายกระสับกระส่ายอย่างมาก พูดมาก พูดไม่หยุด
-
อาการหุนหันพลันแล่น
การกระทำที่รีบร้อนที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหันโดยขาดการคิดไตร่ตรอง ขาดความสุขุมรอบคอบ
ลักษณะอาการและอาการแสดง
อาการขาดสมาธิ วัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่
ต้องมีอาการอย่างน้อย 5 อาการขึ้นไป
ไม่สามารถจดจำรายละเอียด หรือขาดความรอบคอบ
ไม่มีสมาธิในการทำงานหรือการเล่น
จะดูเหมือนไม่สนใจฟังเวลาที่พูดด้วยโดยตรง
ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งและไม่สามารถทำงานเกี่ยวกับการเรียน
งานบ้าน หรือทำงานต่างๆ
มีปัญหาในการวางแผนเกี่ยวกับงานหรือการทำกิจกรรมต่างๆ
หลีกเลี่ยง ไม่ชอบ หรือลังเลที่จะทำงานที่ต้องใช้ความคิด
จะทำของที่จำเป็นสำหรับการเรียนหรือการทำงานหายอยู่บ่อยๆ
มักจะถูกเบี่ยงเบนความสนใจจากสิ่งเร้าภายนอกได้ง่าย
ลืมบ่อยๆ เกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน
อาการซน ไม่อยู่นิ่ง และอาการหุนหันพลันแล่น
วัยรุ่นตอนปลายและผู้ใหญ่ ต้องมีอาการอย่างน้อย 5 อาการขึ้นไป
เมื่อนั่งอยู่กับที่มักจะมีอาการกระวนกระวาย กระสับกระส่าย
ลุกจากที่นั่งบ่อยๆ ในสถานการณ์ที่ควรต้องนั่งอยู่กับที่
มักจะวิ่งไปทั่วหรือปีนป่ายสิ่งต่างๆ ในสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม
ไม่สามารถเล่นหรือเข้าร่วมในกิจกรรมสันทนาการได้อย่างเงียบๆ
มักจะยุ่งวุ่นวาย เสมือนหนึ่งขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์อยู่ตลอดเวลา
พูดมาก พูดไม่หยุด
โพล่งตอบคำถามก่อนที่จะถามคำถามจบ
มักจะมีปัญหาในการรอคอยให้ถึงตาตนเอง
มักจะขัดจังหวะ หรือสอดแทรกผู้อื่น
วัยรุ่นตอนปลายและวัยผู้ใหญ่อาจจะเป็นลักษณะการก้าวก่าย
หรือการยึดครองสิ่งที่ผู้อื่นกำลังทำอยู่
สาเหตุของโรคซนสมาธิสั้น
1) ปัจจัยทางชีวภาพ
พันธุกรรม
กายวิภาค สรีรวิทยา ของระบบประสาท
สารเคมีของระบบประสาท
2) ปัจจัยก่อนคลอด
3เดือนแรก
มีการติดเชื้อ มีการเสพสุรา ยาเสพติดและ/หรือสูบบุหรี การคลอดก่อนกำหนด การที่เด็กขาด oxygen ระหว่างคลอด
3) ปัจจัยทางจิตสังคม
การที่เด็กไม่ได้รับความอบอุ่นเป็นระยะเวลานานๆ เหตุการณ์ที่
ทำให้เด็กรู้สึกเครียด การที่ผู้ที่เลี้ยงดูเด็กขาดทักษะในการจัดการพฤติกรรมเด็กที่เป็นปัญหา
4) ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
ความผิดปกติของระบบประสาท มีอาการชัก
มีการสูดหายใจอากาศที่มีมลภาวะเป็นพิษ การรับประทานสารตะกั่ว
สีผสมอาหาร วัสดุที่ใช้ในการแต่งกลิ่นแต่งสีหรือที่ใช้ในการถนอมอาหาร
5) ปัจจัยอื่นๆ ที่อาจเกี่ยวข้อง
อารมณ์ของเด็ก ปัจจัยทางด้านพันธุกรรมที่ถ่ายทอดในครอบคร้ว
สถานะทางสังคมและทางเศรษฐกิจไม่ส่งผลต่อการเกิดADHD
การบำบัดรักษา
1) การรักษาทางยา
การรักษาด้วยยา psychostimulants
เพิ่มการปล่อยหรือยับยั้งการดูดกลับของ
dopamine และ norepinephrine สามารถควบคุมอาการหุนหันพลัน
แล่นได้ดีขึ้น ช่วงของสมาธิและความสนใจดีขึ้น
กลุ่มที่มีส่วนผสมของ phentermine
กลุ่มที่มีส่วนผสมของ methylphenidate
การรักษาโดยกลุ่มยาต้านเศร้า (antidepressants)
imipramine (tofranil) ใช้ในกรณีที่ทนอาการข้างเคียงของ methylphenidate ไม่ได้
กลุ่มยา alpha-adrenergic agonist
clonidine (catapres) ใช้ methylphenidate
กรณีที่เป็น ADHD ร่วมกับ tic หรือ tourette’s disorder
กลุ่มยารักษาอาการทางจิต (antipsychotics)
thioridazine (mellaril) / haloperidol (haldol) / risperidone (risperdal)
ผู้ป่วย ADHD ที่มีความก้าวร้าวหรือมีอาการ tic ร่วมด้วย
2) การรักษาโดยการปรับพฤติกรรมและ
การรักษาทางจิตสังคม
ฝึกอบรมพ่อแม่ในการดูแลเด็ก ADHD
การให้ความช่วยเหลือเด็กขณะอยู่ที่โรงเรียน
การให้ความช่วยเหลือโดยมุ่งเน้นที่ตัวเด็กเป็นสำคัญ
การพยาบาลโรคซนสมาธิสั้น
1) การประเมินสภาพ
การประเมินเมื่อเด็กอยู่ที่โรงเรียน
การประเมินที่โรงพยาบาล
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการได้รับบาดเจ็บ
ไม่สามารถทำตามบทบาทหน้าที่ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองต่ำเป็นระยะเวลานาน
วิธีการเผชิญปัญหาไม่มีประสิทธิภาพ
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมบกพร่อง
3) การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดกับพ่อแม่และเด็ก และคุณครู
ให้ความรู้ คำแนะนำแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง และคุณครู
เกี่ยวกับโรค การดูแลเด็ก
กำหนดพฤติกรรมของเด็กที่ความคาดหวังร่วมกันระหว่างพ่อแม่ผู้ปกครอง คุณครู ทีมสหสาขาวิชาชีพ และสื่อสารกับเด็ก
ดูแลให้เด็กได้รับการรักษาด้วยยาร่วมกับการรักษา
ด้วยการปรับพฤติกรรมและการรักษาทางจิตสังคม
4) การประเมินผล (evaluation)
ประเมินผลที่เกิดขึ้นว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้หรือไม่ พฤติกรรมต่างๆที่เป็นปัญหาลดลงหรือไม่
เด็กสามารถควบคุมตนเองได้ดีเพียงใด รวมทั้งเด็กมีคุณภาพ
ชีวิตดีขึ้นหรือไม่
ภาวะออทิซึมสเปกตรัม
กลุ่มโรคที่มีความผิดปกติของพัฒนาการทางระบบประสาท ที่มีความบกพร่องของพัฒนาการด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ลักษณะอาการและอาการแสดง
1) มีความบกพร่องด้านการสื่อสารและ
ด้านปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในหลายบริบท
ผิดปกติทางอารมณ์และทางสังคม
ไม่มีการแสดงออกทางสีหน้า กิริยาท่าทางที่ประกอบการเข้าสังคม
มีความบกพร่องด้านการสื่อสาร
มีความบกพร่องในการสร้าง รักษา และเข้าใจในสัมพันธภาพ
2) มีแบบแผนพฤติกรรม ความสนใจ
หรือกิจกรรมที่จำกัดซ้ำๆ
มีการแสดงกิริยาบางอย่างซ้ำ (mannerism)
ยึดติดกับสิ่งเดิม กิจวัตรประจำวันเดิมหรือ
แบบแผนการสื่อสารเดิมๆซ้ำๆ ไม่มีความยืดหยุ่น
หมกหมุ่นกับสิ่งหนึ่งสิ่งใด
หรือเพียงบางส่วนของวัตถุมากเกิน
มีการตอบสนองต่อการรับสัมผัสสิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้น
สาเหตุของภาวะออทิซึมสเปกตรัม
1) ปัจจัยทางพันธุกรรม
ในคู่ฝาแฝดแท้ : เพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 95
ในคู่ฝาแฝดเทียม : จะมีโอกาสเกิดลดลง ร้อยละ 30
2) ปัจจัยทางสมอง
มีช่องว่างในสมอง (ventricle) มีขนาดใหญ่กว่าปกติ
มีความผิดปกติของสารเคมีในสมอง
3) ปัจจัยในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด
และระยะหลังคลอด
อายุพ่อแม่
ภาวะที่ไม่เข้ากันของภูมิคุ้มกันระหว่างมารดาและทารก
ภาวะแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์และการคลอด
การบำบัดรักษาภาวะออทิซึมสเปกตรัม
1) การรักษาทางยา
methylphenidate
ที่ใช้บรรเทาอาการขาดสมาธิ พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง
haloperidol กับ risperidone
บรรเทาอาการหงุดหงิด พฤติกรรมวุ่นวายก้าวร้าว
fluoxetine
ที่ใช้บรรเทาอาการซึมเศร้า ลดพฤติกรรมซ้ำๆ
lorazepam
บรรเทาอาการวิตกกังวล
2) พัฒนาทักษะด้านการสื่อสาร
ทำอรรถบำบัด (speech therapy)
การรับรู้ผ่านการมองเห็น (visual strategies)
3) พัฒนาด้านทักษะทางสังคม (social skills)
การฝึกเด็กให้ใช้ภาษาทางกายให้เหมาะสม
สบสายตาบุคคลอื่นเวลาต้องการสื่อสาร
4) พฤติกรรมบำบัด (behavioral therapy)
การส่งเสริมพฤติกรรมที่เหมาะสม
การหยุดพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
และการสร้างพฤติกรรมใหม่ที่ต้องการ
5) การบำบัดทางความคิด และพฤติกรรม
(cognitive behavioral therapy: CBT)
พื่อลดความวิตกกังวลซึ่งมัก
เป็นโรคร่วมในเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม
6) ศิลปะบำบัด (art therapy)
ศิลปะจะช่วยพัฒนาด้านจิตใจ เสริมสร้างสมาธิ
สร้างจินตนาการและการสื่อสารผ่านงานศิลปะ
7) ดนตรีบำบัด (music therapy)
8) การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการศึกษา
(educational rehabilitation)
9) การให้คำแนะนำครอบครัว
10) การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ
(vocational rehabilitation)
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม
1) การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
การประเมินทางร่างกาย
การประเมินพัฒนาการ การซักถามบิดามารดา
ผู้เลี้ยงดู บุคคลใกล้ชิด
การสังเกตพฤติกรรม โดยเฉพาะการเล่นของเด็ก
การใช้แบบคัดกรองพัฒนาการตามช่วงวัย
(pervasive developmental disorders screening
questionnaire:
PDDSQ
)
การประเมินสภาพจิต
การประเมินทางด้านจิตสังคม และด้านจิตวิญญาณ
สัมพันธภาพในครอบครัว
รูปแบบการติดต่อสื่อสารของบุคคลในครอบครัว รูปแบบการเลี้ยงดู
การเรียน ประเมินความสามารถในการเรียนรู้ของเด็ก
2) การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีพฤติกรรมก้าวร้าว เนื่องจากขาดความสามารถในการควบคุมตนเอง
มีความบกพร่องด้านการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
เนื่องจากมีพฤติกรรมแยกตัว
เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ เนื่องจากมีพฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง
เสี่ยงต่อการทำร้ายตนเอง เนื่องจากขาด
ความสามารถในการควบคุมตนเอง
เสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร เนื่องจากมีพฤติกรรม
การรับประทานอาหารซ้ำซาก
3) การวางแผนและการปฏิบัติทางการพยาบาล
การฝึกกิจวัตรประจำวัน
ฝึกทักษะการสื่อความหมาย
ฝึกทักษะทางสังคม
แก้ไขพฤติกรรมที่ไม่หมาะสม
แสดงความเข้าใจยอมรับความรู้สึกของพ่อแม่
ที่มีลูกที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม
ช่วยลดความรู้สึผิดหรือกล่าวโทษกันของพ่อแม่
ด้วยการให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
4) การประเมินผลทางการพยาบาล
การประเมินผลหลังให้การพยาบาลตามตัวชี้วัดที่ได้กำหนดไว้ในเกณฑ์การประเมินผล เป็นไปดามเป้าหมายที่วางแผนไว้และสามารถแก้ไขปัญหาได้หรือไม่
ถ้ายังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ พยาบาลจะต้องนำผลที่ประเมินได้มาปรับแผนการพยาบาลหรือปรับกลยุทธ์ในการพยาบาลเพื่อแก้ไขปัญหาของเด็ก