Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม บุคคลที่มีความโกรธและความก้าวร้าว, บทที่…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม
บุคคลที่มีความโกรธและความก้าวร้าว
การพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
เป้าหมาย
เป้าหมายระยะสั้น
เพื่อให้ระบายอารมณ์โกรธอย่างสร้างสรรค์
เพื่อป้องกันอันตรายจากโรคทางร่างกายที่มีความเชื่อมโยงจากอารมณ์โกรธ
เพื่อลดภาวะเสี่ยงในการเกิดพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง
เป้าหมายระยะยาว
เพื่อปรับเปลี่ยนบุคลิกภาพและรูปแบบการเผชิญปัญหาที่สร้างสรรค์เมื่อมีความโกรธ
เพื่อพัฒนาทักษะในการปรับตัวและสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นเมื่อมีความโกรธ
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนทางร่างกาย เนื่องจากมีภาววะความดันโลหิตสูงที่มีความสัมพันธ์กับอารมณ์โกรธ
ขาดทักษะในการสร้างสัมพันธภาพเนื่องจากอารมณ์โกรธ
การแสดงอารมณ์โกรธไม่เหมาะสมเนื่องจากขาดทักษะในการเผชิญปัญหาอย่างสร้างสรรค
รู้สึกผิดและคิดว่าตนเองด้อยค่าเมื่อมีอารมณ์โกรธ
กิจกรรมทางการพยาบาล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเรียนรู้และเข้าใจบุคลิกภาพและอารมณ์โกรธของตน
ประเมินรูปแบบการเผชิญปัญหาของผู้ป่วยว่ามุ่งเน้นการแก้ไขปัญหา
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก เรื่องราวต่างๆ
ส่งเสริมและฝึกให้ผู้ป่วยใช้ทักษะการเผชิญอารมณ์โกรธอย่างสร้างสรรค
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดตามแบบแผนการสร้างสัมพันธภาพ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้ากลุ่มกิจกรรมบำบัดร่วมกับเพื่อนผู้ป่วย
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิธีการสื่อสารเมื่อมีอารมณ์โกรธ
ประเมินอาการและอาการแสดงทางกายที่เป็นผลมาจากอารมณ์โกรธที่เพิ่มมากขึ้น
การประเมินบุคคลที่มีภาวะโกรธ
ประเมินการใช้กลไกทางจิต
ประเมินพื้นฐานอารมณ์ดั้งเดิมของผู้ป่วยและระดับความอดทนของผู้ป่วยแต่ละคน
ประเมินอาการทางร่างกาย
ประเมินบุคคลดังกล่าวว่ามีความขัดแย้งในจิตใจว่ามีสูงมาก หรือน้อยเพียงใด
ประเมินความเข้าใจตนเองและความสามารถของผู้ป่วย
ประเมินความเสี่ยงในการทำร้ายตนเอง และผู้อื่นเมื่อบุคคลมีอารมณ์โกรธ
ประเมินสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตวิญญาณ หรือมีความเชื่อ
การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยมีอาการและอาการแสดงทางร่างกายที่เป็นผลจากอารมณ์โกรธลดลง
ผู้ป่วยมีวิธีการเผชิญปัญหาที่สร้างสรรค์มากขึ้น
ผู้ป่วยและผู้อื่นปลอดภัยจากพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงของผู้ป่วย
ผู้ป่วยสามารถอธิบายวิธีการเผชิญความโกรธที่สร้างสรรค์ได้มากกว่าเดิม
อาการและอาการแสดง
ด้านจิตใจและอารมณ์
การกระทำที่รุนแรง (violence)
แสดงออกด้วยการลงมือกระทำการทำร้าย
การทำลายข้าวของ การทำร้ายร่างกาย การฆ่าผู้อื่น
แยกตัว (withdrawal)
การแสดงอารมณ์แบบไม่ตรงไปตรงมา
มักจะใช้กลไกทางจิตแบบปฏิเสธความจริง (denial of reality) แบบถดถอย (regression)
ความก้าวร้าว (aggression)
ปฏิกิริยาทางคำพูดหรือการกระทำที่โต้ตอบความรู้สึกโกรธ
พูดประชดประชัน ขู่ตะคอก พูดคำหยาบคาย ทะเลาะวิวาท
ซึมเศร้า (depression)
อารมณ์โกรธไว้กับตนเอง ไม่กล้าแสดงออก
ใช้กลไกทางจิตแบบโทษตนเอง (introjection) แบบเก็บกด (repression)
ความไม่เป็นมิตร (hostility)
มักจะใช้กลไกทางจิตแบบโทษผู้อื่น (projection) แบบเคลื่อนย้ายอารมณ์ไปยังบุคคลหรืสิ่งของ
มีความประสงค์ร้ายเกิดขึ้นเมื่อบุคคลรู้สึกว่าตนเองถูกคุกคาม
ด้านร่างกาย
ระดับสารอีพิเนฟริน (epinephrine)
นอร์อีพิเนฟริน (norepinephrine) และระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
มีผลกับระบบทางเดินอาหาร เช่น มีแผลในกระเพาะอาหาร
ระบบประสาทซิมพาทิติก (sympathetic)
กระตุ้นทำให้อัตราการเต้นหัวใจและความดันโลหิตสูงขึ้น หน้าแดง มือสั่น
โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดหัวใจ
สาเหตุของความโกรธ
ปัจจัยด้านจิตใจ (psychological factors)
ด้านจิตวิเคราะห์ (psychoanalytic theory)
ด้านพฤติกรรมและการรู้คิด (cognitive-behavioral theory)
ปัจจัยด้านสังคม (psychosocial factors)
แนวคิดทางด้านสังคมวิทยา (sociocultural theory)
เด็กที่เติบโตในครอบครัวที่มีพฤติกรรมรุนแรง
ปัจจัยด้านชีวภาพ (biological factors)
การได้รับบาดเจ็บหรือความกระทบกระเทือนที่สมอง
การเจ็บป่วยทางกายอื่นๆ
สารสื่อประสารในสมอง
ความโกรธ (anger) เป็นปฏิกิริยาตอบสนองทางด้านจิตใจและอารมณ์ของบุคคล เป็นประสบการณ์ของความรู้สึกทางอารมณ์ที่เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน อารมณ์โกรธเป็นอารมณ์ที่ต่อเนื่องกันจากความรู้สึกขุ่นเคืองใจ
บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาจิตสังคม
บุคคลที่มีความโกรธและความก้าวร้าว
นางสาวอรอุมา มะลัยคำ พยบ.ปี 3 รหัสนักศึกษา 180101026