Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร - Coggle Diagram
หลักการแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
ปรัชญาการศึกษา
สารัตถนิยม
หลักการ
การเรียนรู้คือการทำงานฝึกฝนและนำไปใช้ได้
ความริเริ่มทางการศึกษาอยู่ที่ครู
มีหลักสูตรล่วงหน้า
อบรมจิตใจระเบียบวินัยที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้
จุดมุ่งหมาย
ศึกษาเนื้อหาจากวัฒนธรรม
ความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยมในอดีต
รักษาสิ่งต่างๆในอดีต
เนื้อหา
เน้นความรู้พื้นฐาน ภาษา ประวัติศาสตร์ คำนวณ ศิลปะ ค่านิยม และวัฒนธรรม
นิรันดรนิยม
หลักการ
การศึกษาเป็นแบบอย่างเดียวกันสำหรับทุกคน
ใช้เหตุผลควบคุมสัญชาติญาณ
การศึกษาคือการแสวงหา
การศึกษาเป็นการเตรียมตัวเพื่อชีวิต
เรียนรู้พื้นฐานเพื่อเข้าใจสิ่งคงทนของโลก
จุดมุ่งหมาย
ให้ผู้เรียนเข้าใจตนเอง เหตุผลและสติปัญญา
พัฒนาเหตุผลและสติปัญญาเพื่อเป็นคนที่สมบูรณ์
การศึกษาทุกแห่งเป็นสากล
เนื้อหา
แบ่งเป็นศิลปภาษาและศิลปคำนวณ
พิพัฒนนิยม
หลักการ
การศึกษาคือชีวิต
เรียนในสิ่งที่สนใจ
เรียนโดยวิธีแก้ปัญหา
ครูมีหน้าที่ให้คำปรึกษาคำแนะนำ
โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กเกิดความร่วมมือ
วิถีประชาธิปไตย
จุดมุ่งหมาย
ให้การศึกษาทุกด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม อาชีพ และสติปัญญา
เนื้อหา
สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน และสภาพสังคมของผู้เรียน
ปฏิรูปนิยม
หลักการ
การศึกษาสร้างระบบสังคมใหม่
สังคมเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
การศึกษาเป็นไปตามหลักสังคม
สร้างเด็กที่เน้นความถูกต้อง
การเรียนเน้นจุดหมายเป็นสำคัญ
จุดมุ่งหมาย
การศึกษาช่วยแก้ปัญหาของสังคม
ส่งเสริมพัฒนาสังคมโดยตรง
มุ่งสร้างระเบียบใหม่ของสังคม
ระเบียบใหม่อยู่บนรากฐานประชาธิปไตย
ให้เห็นความสำคัญของสังคมควบคู่กับตนเอง
เนื้อหา
สภาพและปัญหาของสังคม เน้นสังคมศึกษา
อัตติภาวะนิยม
หลักการ
แต่ละคนสามารถกำหนดชีวิตตนเองได้
เชื่อมั่นธรรมชาติของคนดี และสภาพแวดล้อมทางสังคมดี
จุดมุ่งหมาย
เน้นความอิสระ การเรียนเกดจากความสนใจของผู้เรียน
เนื้อหา
ตามความสนใจของผู้เรียน
จิตวิทยา
ปัญญานิยม
การกระทำต่างๆ เกิดจากเงื่อนไข
สภาพแวดล้อมที่เรียนรู้ได้ดี ต้องรับรู้ได้และมีความหมาย
สิ่งใดที่เรียนรู้มาก่อนมีผลต่อการเรียนรู้ปัจจุบัน
มนุษยนิยม
มนุษย์เป็นผู้มีอิสระสามารถนำตนเองและพึ่งตนเองได้
มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ทำประโยชน์ให้สังคม
ยึดการเรียนรู้จากแรงจูงใจเป็นหลัก (เน้นเด็กเป็นศูนย์กลาง)
ไม่ยอมรับว่าการเรียนรู้เกิดจากเงื่อนไขและกลไก
บุคคลมีอิสระภาพในการกำหนดตนเอง
พฤติกรรมนิยม
หลักสูตรต้องคำนึงแบบฝึกหัด
จัดกิจกรรมเน้นแก้ปัญหา ค้นคว้า หยั่งรู้
หลักสูตรมีความยืดหยุ่น ผู้เรียนเลือกได้บางวิชา
จัดกิจกรรมเน้นบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมให้เกิดแรงจูงใจ
สังคมและวัฒนธรรม
ระบบสังคม วัฒนธรรม และค่านิยม
โครงสร้างทางสังคม
สังคมชนบท หรือสังคมเกษตรกรรม
สังคมเมือง หรือสังคมอุตสาหกรรม
ค่านิยมในสังคม
สิ่งที่คนในสังคมเดียวกันมองเห็นว่ามีคุณค่า
เลือกค่านิยนที่ดีสอดแทรกในหลักสูตร
ธรรมชาติของคนในสังคม
ยึดมั่นบุคคลมากกว่าหลักการและเหตุผล
ยกย่องบุคคลที่มีความรู้
เคารพคล้อยตามผู้มีวัยวุฒิสูง
ยกย่องผู้มีเงิน
รักความอิสระ
ยกย่องผู้มีอำนาจ
เชื่อโชคลางไสยศาสตร์
นิยมการเล่นพวก
วัฒนธรรมในสังคม
ทะนุบำรุงรักษาและถ่ายทอดวัฒนธรรมที่ดีงาม
สกัดกั้นวัฒนธรรมต่างชาติที่ทำลายเอกลักษณ์ของชาติไทย
ศาสนาในสังคม
เปรียบเทียบหลักธรรมทุกศาสนา
เป้าหมายสูงสุดร่วมกันของทุกศาสนา
ความเปลี่ยนทางวัฒนธรรม
ระบบการเมืองการปกครองและเศษฐกิจ
ระบบที่ช่วยสนับสนุนเกื้อกูลให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างผาสุก
ระบบการปกครอง เศรษฐกิจมีลักษณะเฉพาะของตน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและครอบครัว
สร้างคุณธรรมและความคิดใหม่ ให้คนในสังคมปรับตัวได้
การเอาเทคโนโลยีมาใช้ ทำให้สังคมเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว
สภาพปัญหาของสังคมและแนวทางแก้ปัญหาของสังคม
หลักสูตรมุ่งแก้ปัญหาสังคม พอๆ กับความต้องการของผู้เรียน
ชี้ให้ทราบถึงข้อเท็จจริงต่างๆ ของสภาพที่เป็นปัญหา
ให้ผู้เรียนตระหนักถึงความจำเป็นในการแก้ปัญหา
ให้ผู้เรียนคิดหาวิธีแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางเพื่อนำไปปฏิบัติ
ข้อมูลพื้นฐาน
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การออกแบบหลักสูตรที่สอดคล้องและสมดุลที่สามารถพัฒนาผู้เรียน
การนำข้อมูลข่าวสารมาพัฒนาตน งาน และสังคม
สิทธิในการรับรู้ข่าวสาร การวิเคราะห์ข้อมูล
การพัฒนาหลักสูตร
ระดับประเทศ
นโยบายและเป้าประสงค์ของชาติ
การวิเคราะห์หลักสูตรเดิม
สภาพปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เรียน
กระบวนการเรียนการสอน
ทรัพยากร อุปกรณ์ เครื่องมือ และสถานที่
ระดับท้องถิ่น
สภาพ ปัญหา ความคาดหวังของท้องถิ่น
ผู้เรียนต้องการอะไร
ศักภาพและสถาพโดยทั่วไปของโรงเรียน
สภาพและปัญหาของหลักสูตร การบริหารหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ประเภท
ข้อมูลเกี่ยวกับชุมชน หรือสังคมที่โรงเรียนตั้งอยู่
ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เรียน
ประชากรผู้เรียน
การเจริญเติบโต พัฒนาการด้านปัญญา จิตใจ
ลักษณะกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
ครอบครัว
ข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรียน
วิธีการศึกษา
ทางตรง
สอบถาม ใช้แบบสอบถามวิจัยเชิงสำรวจ
สัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง
สังเกตุกิจกรรมหรือเหตุการณ์ต่างๆ
ระดมความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้อง
ทางอ้อม
ศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร
รับฟังความคิดเห็นจากแหล่งต่างๆ
วิเคราะห์ตัวชี้นำที่สำคัญ