Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Implementation and Evaluation, นางสาวอัจฉรา กาฬปักษี รหัสนักศึกษา 601341 -…
Implementation and Evaluation
ส่วนประกอบสำคัญ
ความรู้ (Cognitive)
การมีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มเป้าหมาย (Interpersonal verbal & non verbal)
ทักษะที่สำคัญ (Technical skill)
จริยธรรม และวัฒนธรรมของท้องถิ่น (Ethical and culture)
การตรวจร่างกาย
การวินิจฉัยแยกโรค
การทำหัตถการ
ทักษะในการพยาบาลต่างๆ
กระบวนการสื่อสาร กระบวนการสื่อสารที่ดี
ชั้นตอนการปฏิบัติงานในขุมชน
ชั้นเตรียมงานตามแผนอนามัยชุมชน
จัดประชุมกลุ่มศึกษา
กำหนดบุคคลและแบ่งหน้าที่ความร้ผิดชอบให้เหมาะสมกับบุคคล
กำหนตรูปแบบแนวทางการประสานงาน
ตรวจสอบความพร้อมของทรัยากรและงบประมาณ
ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนหรือกลุ่มเป้าหมายทราบถึงวัน เวลา สถานทีและหัวข้อ
ชั้นตำเนินการ
การปฏิบัติกิกรรมที่กำหนดไว้ตามขั้นตอนและปรับให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
การปฏิบัติตามแผนโดยให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาและองค์กรความรู้ของชุมชน
การปฏิบัติตามมาตรฐานของวิชาชีพอย่างเคร่งครัด
ควมคุม นิเทศ และติดผามงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ระยะในช่วงการปฏิบัติงาน
การประเมินผลโครงการก่อนการปฏิบัติงาน (Pre-Implementation Evaluation)
ปัญหาของชุมชนมีความชัตเจน เพียงพอหรือไม่มีขนาดและความรุนแรงของปัญหาเป็นอย่างไร
แผนงานสอดคล้องกับนโยบายและปัญหาของชุมชนหรือไม่
บรรลุวัตถุประสงค์ได้หรือไม่
การบริหารและการจัดการในแผนงานกำหนดไว้อย่างชัดเจนหรือไม่
ด้านเทคนิคในการดำเนินงาน เครื่องมีอเครื่องใช้มีความเหมาะสม เพียงพอต่อการนำไปปฏิบัติงานหรือไม่
ความพร้อมด้านงบประมาณ ด้านสิ่งแวดล้อมและด้านสังคมเป็นอย่างไร
การประเมินผลโครงการในระหว่างการปฏิบัติงาน (Formative/ On-going Evaluation)
ผลการปฏิบัติของโครงการ ตรงกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้หรือไม่
องค์ประกอบสนไหน ด้านใดที่ส่งผลทำในการดำเนินงานประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว
การให้บริการ ครอบคลุมกลุ่มป้หมายประชาชนในชุมชนหรือไม่
ปัจจัยนำเข้าต่าง ๆ มีครบถ้วนเพียงใดหรือไม่ตรงตามเวลาที่กำหนดไว้เพียงใด
การประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ (Summative/ Post Evaluation)
การวัดประสิทธิภาพ (Evaluation of Efficiency)
การวัดประสิทธิผล (Evaluation of Elfectivenes)
การวัดความเพียงพอ ( Evaluation of Adequacy )
การวัดความเหมาะสม (Evaluation of Appropriateness)
การวัดผลข้างเคียง (Evaluation of Side-effect)
ประโยชน์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ช่วยการพัฒนาปรับปรุงแผนให้สอดคล้องกับปัญหา ความต้องการ
ช่วยในการจัดสรรทรัพยากุรและบุคลากรให้มีประมาณที่เพียงพอ
ทำให้ทราบถึงความก้าวหน้าของการดำเนินงน จุดอ่อน จุดแข็ง เพื่อนำมาใช้นการปรับปรุง
ทำให้ทราบถึงระดับความสำเร็จและผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น
ช่วยในการสร้งขวัญและกำล้ใจให้ผู้ปฏิบัติงาน
นางสาวอัจฉรา กาฬปักษี รหัสนักศึกษา 601341