Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลผู้ที่มีพยาธิสภาพของต่อมไร้ท่อระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง,…
บทที่ 4 การพยาบาลผู้ที่มีพยาธิสภาพของต่อมไร้ท่อระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
บทนำ
เป็นระบบส่งสารเคมีที่ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์สร้างและหลั่งฮอร์โมนแล้วส่งออกนอกเซลล์โดยผ่านระบบหลเวียนทั้งทางกระแสเลือดูและน้ำเหลืองเพื่อควบคุมอวัยวะเป้าหมายในร่างกายต่อมไร้ท่อที่สำคัญในนุษย์ ได้แก่ ต่อมไทรอยด์และต่อมหมวกไตโดยมีไฮโปทาลามัสเป็นศูนย์ควบคุมทางระบบประสาท
หน้าที่
สร้างฮอร์โมนที่ควบคุมอารมณ์การเจริญเติบโตการเผาผลาญการเจริญพันธุ์
ต่อมไร้ท่อจะทำหน้าที่ควบคุมการสร้างและการปล่อยฮอร์โมน
ต่อมไร้ท่อจะส่งฮอร์โมนจะไปสู่เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกายพร้อมกับกระแสเลือดออกมา
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior Lobe of Pituitary Gland)
โรคเบาจืด (Diabetes Insipidus)
อาการของโรค
อาการหลัก คือ ปัสสาวะปริมาณมากและบ่อย รวมจนถึงกระหายน้ำมากผิดปกติ เป็นเหตุให้เกิดภาวะอื่นๆ ตามมา เช่น
อ่อนเพลีย จากการเสียเกลือแร่เมื่อปัสสาวะ และขาดการพักผ่อนอย่างเพียงพอ เพราะอาจต้องลุกขึ้นมาปัสสาวะระหว่างนอนหลับ
ADH ต่ำ ปัสสาวะออกมาก สีใส เกิดภาวะ Hypernatremia
SIADH
Syndrome of inappropriate secretion of ADH (SIADH) เกิดขึ้นเนื่องจากความผิดปกติในการควบคุมการหลั่ง ADH ทำให้ ADH หลั่งมากผิดปกติ ทำให้ไตไม่สามารถขับน้ำได้ตามปกติ ในขณะที่การขับโซเดียมเป็นปกติ สาเหตุที่สำคัญได้แก่ มะเร็ง, โรคปอด, ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง
ADH สูง ปัสสาวะออกน้อย มีสีเข้ม เกิดภาวะ Hyponatremia
ไทรอยด์ (Thyroid)
Hyperthyroidism
คือภาวะที่ต่อมไทรอยด์สร้างและปล่อยฮอร์โมนออกมามากเกินไป ส่งผลให้ระบบต่างๆของร่างกาย ทางานผิดปกติเกิดอาการของไทรอยด์เป็นพิษ
โรคไทรอยด์ชนิดอ้วน (Hypothyroid)
เป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ จึงมีการเผาผลาญพลังงานน้อยกว่าปกติ และมีอาการต่างๆ เช่น - เฉื่อยชา เบื่อ ขี้เกียจ ไม่อยากทำอะไร
Graves' Disease หรือโรคเกรฟส์
เป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับระบบภูมิคุ้มกันของต่อมไทรอยด์ซึ่งเป็นต่อมไร้ท่อขนาดเล็กที่อยู่บริเวณด้านหน้าลำคอ ส่งผลให้ต่อมไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนออกมามากกว่าปกติ โดยโรคนี้นับเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดภาวะไทรอยด์เป็นพิษ
Adrenal gland หรือ ต่อมหมวกไต
Pheochromocytoma คือ เนื้องอกต่อมหมวกไต
อาการ เวียนศีรษะ ปวดศีรษะรุนแรง ความดันโลหิตสูง การ
ตรวจคือ เก็บ Urine 24 ชั่วโมง ทุกหยด
ตรวจปัสสาวะ เพื่อตรวจระดับฮอร์โมนของต่อมหมวกไต เช่น อะดรีนาลีน นอร์อะดรีนาลีน และเมทาเนฟริน เป็นต้น ซึ่งผู้ป่วยจะต้องเก็บตัวอย่างปัสสาวะตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัดตลอดระยะเวลา 24 ชั่วโมง
Cushing การที่ร่างกายมีปริมาณฮอร์โมน cortisol มากเกินปกติ
อาการที่พบได้ทั่วไป
-หิวบ่อย กินจุ ใบหน้าอ้วนกลม น้ำหนักเพิ่ม
อ้วนขึ้น โดยเฉพาะส่วนกลางลำตัว เช่น บริเวณไหปลาร้า ลำตัวส่วนบน พุง แต่แขนขาลีบ
มีก้อนไขมันสะสม โดยเฉพาะที่ใบหน้า ส่วนกลางลำตัว หลังส่วนบนหรือช่วงระหว่างบ่า
ปัสสาวะมากและปัสสาวะบ่อย
นอนไม่หลับ
โรคแอดดิสัน (Addison's disease)
โรคแอดดิสัน หมายถึง
ภาวะพร่องฮอร์โมนสตีรอยด์เรื้อรัง (chronic adrenocortical insufficiency) เป็นภาวะที่พบได้น้อยมาก
พบมากในคนอายุ 30-50 ปี เป็นโรคที่อาจมีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง
Addison's Disease หรือโรคแอดดิสัน เป็นความผิดปกติเกี่ยวกับต่อมหมวกไตที่พบได้ไม่บ่อยนัก
โดยส่งผลให้ต่อมหมวกไตซึ่งอยู่เหนือไตทั้ง 2 ข้างผลิตฮอร์โมนคอร์ติซอลและฮอร์โมนอัลดอสเตอโรนได้ไม่เพียงพอ ซึ่งฮอร์โมนดังกล่าวมีผลต่ออารมณ์ ระบบเผาผลาญ การทำงานของเนื้อเยื่อ การเจริญเติบโต และการจัดการกับความเครียด ผู้ป่วยโรคนี้จึงจำเป็นต้องได้รับฮอร์โมนสังเคราะห์ทดแทน เพื่อช่วยให้กลไกต่าง ๆ ในร่างกายทำงานเป็นปกติ ไม่เช่นนั้นอาจก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้
ตับอ่อน (อังกฤษ: pancreas)
Hypoglycemia
เป็นภาวะที่เกิดขึ้นเมื่อระดับน้ำตาลในเลือดลดลงอย่างผิดปกติและเป็นอันตราย มักทำให้เกิดอาการสั่นและอ่อนเพลีย
Hyperglycemia
น้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) คือการที่ร่างกายเกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินกว่าเกณฑ์ค่าปกติ คือ มากกว่า 99 มก./ดล. หลังอดอาหาร 8 ชม. และ เกิน 140 มก./ดล. หลังมื้ออาหาร 2 ชม.
โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus)
โรคเบาหวานชนิดที่ 1
เกิดขึ้นเมื่อร่างกายไม่สามารถผลิตอินซูลินได้เลย หรือผลิตได้น้อยมาก และมักตรวจพบตั้งแต่วัยเด็ก หรือเริ่มเข้าวัยผู้ใหญ่ ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 1 มักต้องรับการรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นโรคเบาหวานชนิดที่พบมากในผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่
ในประเทศไทย (ประมาณร้อยละ 95) และผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่ทั่วโลก
โรคเบาหวานชนิดที่ 2 นั้น ตับอ่อนยังคงผลิตอินซูลินได้ แต่อาจผลิตในปริมาณที่ไม่เพียงพอ เพราะอินซูลินที่ผลิตออกมาไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มที่ ซึ่งทางการแพทย์เรียกภาวะนี้ว่า ภาวะดื้อต่ออินซูลิน
Glycemic index.
ค่าดัชนีน้ำตาล หรือ Glycemic index (GI)
เป็นการจัดลำดับอาหารชนิดคาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) ว่ามีผลต่อระดับน้ำตาลในเลือด (Blood glucose level) มากน้อยเพียงใดหลังจากที่กินอาหารชนิดนั้นๆ 1-2 ชั่วโมง อาหารที่มี GI สูงจะถูกดูดซึมได้เร็วกว่า และเป็นเหตุให้ระดับน้ำตาลในเลือดขึ้นสูงกว่าอาหารที่มี GI ต่ำ อาหารที่มี GI ต่ำจะถูกย่อยช้า
Type 1
Type 2
Hyperthyroidism
(Hypothyroid)
Graves' Disease
เบาจืด
Cushing syndrome
Hypoglycemia
Hyperglycemia