Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอาเจียนไม่สงบ (Hyperemesis graidarum) - Coggle Diagram
ภาวะอาเจียนไม่สงบ (Hyperemesis graidarum)
ความหมาย
เป็นภาวะแทรกซ้อนอย่างรุนแรง มักจะเกิดในระยะที่ 1 ของการตั้งครรภ์ (ไม่เกิน 16 สัปดาห์) แต่อาจพบหลังจากนี้ได้ อาการรุนแรง น้าหนักตัวลดลงมากกว่า 5% อาจต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาล
อุบัติการณ์
พบได้ประมาณ 0.2% ของการตั้งครรภ์ มักพบในครรภ์แรก
สาเหตุ
Psychic or Neurotic cause อาจเกิดจากจิตใจ อารมณ์ที่ถูกกดดัน เช่น ความกลัว กังวล ไม่ต้องการทารก หรือเชื่อว่าแฝงอยู่ใน Subconcious mind โรคนี้จึงพบมากในพวก Neurotic women
Hormone Caused อาจพบเป็นเพราะการเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนเมื่อเริ่มตั้งครรภ์ เช่น HCG (Human Chorionic Gonadotropin) เอสโตรเจน และ ไทรอยด์ฮอร์โมน ที่สูงขึ้น
Allergic Cause เนื่องจากระบบปัสสาวะของผู้ป่วยกลุ่มนี้มี Histamine อยู่เป็นจานวนมาก
ปัจจัยเสี่ยง
มากขึ้นในกลุ่มตั้งครรภ์ครั้งหลัง ครรภ์ไข่ปลาอุก ในกลุ่มที่มีประวัติไมเกรน หรือมีประวัติพี่น้องมีประวัติอาเจียนไม่สงบ
พยาธิสภาพ
อาจเกิดได้ที่ตับ ไต หัวใจ และสมอง ซึ่งเป็นผลมาจากร่างกายขาดน้า อาหารและวิตามิน การขาดความสมดุลของ Electrolyte และการขาดดุลของภาวะกรดและด่างของร่างกาย
อาการแสดง
1) อาเจียนตลอดเวลา ถึงแม้จะไม่รับประทานอาหารหรือน้าในรายที่รุนแรงอาจอาเจียนเป็นน้าดี
2) อ่อนเพลีย ซึม ผิวหนังแห้งกระด้าง ริมฝีปากแห้งแตก ลมหายใจมักสั่น
3) น้าหนักตัวลดลงมากกว่า 5%
4) อาจมีไข้ ชีพจรเต้นเร็ว หายใจหอบ
5) สมองสับสน ปวดศรีษะ มึนงง
6) ปัสสาวะน้อย สีเข้ม ความถ่วงจาเพาะสูง
7) ในรายที่รุนแรง อาจพบอาการตัวเหลือง และหมดสติ
ผลเสียที่เกิดในมารดา
1) สภาวะขาดน้า อุณหภูมิ สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส ชีพจรเต้นเร็ว อาการรุนแรงขึ้น ถ้าชีพจรสูงกว่า 120 ครั้ง/นาที และไม่สม่าเสมอ ความดันโลหิตลดลง
2) ตัวเหลือง หรือพบน้าดีในปัสสาวะ เนื่องจากตับขาดอาหารพวกคาร์โบไฮเดรทและ
ไขมัน อาจเสียชีวิตได้จาก Hepatic Coma
3) มึน งง ความจาเลอะเลือน กระสับกระส่าย เพ้อ โดยมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในสมอง คืออาการคอร์ซาคอฟซินโดรม ( Korsakolf ‘s syndrome)
4) มีจุดเลือดเล็ก ๆ ในสมอง เนื่องจากการขาด วิตะมิน B โดยมีอาการตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อน ตาเอียง อาจกระตุกและหมดสติ คืออาการเวอร์นิค เอนเซฟโลพาตี (Wernicke’s Encephalopathy)
5) เกิดภาวะ Ketosis เมื่อมีการสลาย Glycogen หมดไป จะมีการสลายโปรตีนเป็นพลังงาน ตรวจปัสสาวะ พบ acetone
6) ภาวะ Acidosis อาการสูญเสีย Electrolyte เช่น Cl,Na,K
ผลเสียที่เกิดต่อทารก
ส่งผลให้ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR) หรือ คลอดก่อนกาหนดได้
แนวทางการรักษา
1) แก้ไขภาวะขาดน้า น้าตาลและอิเลคโตรไลท์
2) ให้วิตามินเสริมในกลุ่มวิตามิน B รวม (ช่วยเผาผลาญ คาร์โบไฮเดรท และช่วยให้ Cellประสาททางานดีขึ้น
3) ควบคุมระดับความสมดุลของกรดด่างในร่างกาย
4) ให้ยาแก้อาเจียน
5) ให้ยาช่วยในการนอนหลับ พักผ่อน
การพยาบาล
1) ดูแลให้ได้รับสารอาหารและน้าอย่างเพียงพอ
1.1 ประเมินภาวะขาดน้าและช่วยให้ได้รับสารน้าทันที
1.2 NPO 24-48 ชม. แรกในระหว่างอาเจียน เพื่อป้องกันการสาลัก โดยให้สารน้าทางเส้นเลือดแทน ต่อไปจึงให้อาหารทีละน้อย ๆ (อาหารย่อยง่าย) มีคาร์โบไฮเดรท โปรตีน วิตามินสูง
2) ดูแลให้ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง เช่นการให้ยาตามแผนการรักษา
3) ประเมินอาการเปลี่ยนแปลง
3.1 วัดสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง
3.2 Record I/O
3.3 ตรวจปัสสาวะหา Specific Gravity (ความถ่วงจาเพาะ) คีโตน คลอไรด์ และ โปรตีนทุกวัน
3.4 ชั่งน้าหนักทุกวัน
4) ดูแลให้ได้มีความสุขสบาย
4.1 ดูแลความสะอาดของปากและฟัน ความสะอาดร่างกายทั่ว ๆ ไป
4.2 ถ้าถ่ายอุจจาระต้องสวนอุจจาระให้
5) เพื่อลดความวิตกกังวล
5.1 สร้างบรรยากาศความไว้วางใจ ดูแลอย่างใกล้ชิด แสดงความเห็นใจ
5.2 สนับสนุนให้บุคคลในครอบครัวช่วยดูแล