Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินทางจิตวิทยา และการบอกข่าวร้าย - Coggle Diagram
การประเมินทางจิตวิทยา และการบอกข่าวร้าย
การประเมินทางจิตวิทยา
การสังเกตพฤติกรรม
การสัมภาษณ์
การใช้แบบประเมินแบบทดสอบทางจิตวิทยา
Freeman : คำถามที่มีมาตราฐาน ใช้วัดบุคลิคภาพ อาศัยการตอบสนองของคำถาม
Anastasi : สิ่งที่ใช้วัดตัวอย่างทางพฤติกรรมอย่างมีหลักเกณฑ์และมาตราฐาน
หัวใจของแบบสอบถาม
ความมีหลักเกณฑ์หรือเป้าหมายที่แน่ชัด
ตัวอย่างพฤติกรรม : สกัดออกมาจาก1000 เหลือ 100 พอที่จะเป็นแบบประเมินได้
ความเป็นมาตราฐาน
ความเป็นมาตราฐานในการทดสอบ
การออกคำสั่งให้แก่ผู้รับการทดสอบต้องชัดเจนและแน่นอน : มีคำสั่งอะไรในแบบทดสอบก็ต้องทำ
กำหนดเวลาในการทำแบบทดสอบอย่างแน่นอน
ตัวอย่างในการตอบที่ชัดเจน
เนื้อหาคำถามต้องเป็นแบบเดียวกันไม่มีการดัดแปลง
ความเป็นมาตราฐานในการแปลผล
การให้คะแนนในแบบทดสอบต้องเป็นแบบเดียวกัน
อยู่ในเกณฑ์ปกติ เช่น 80-100 ปกติ
60-79 ปานกลาง เป็นตัน
ลักษณะที่ดีของแบบทดสอบจิตวิทยา
มีความแม่นตรง validity : เนื้อหาคำถามสามารถวัดตัวแปรที่ต้องการได้
ความเชื่อถือได้ reliability ผลที่ได้ต้องออกมาเหมือนเดิม
สามารถใช้ได้ดี usability
ประเภทแบบทดสอบ
จำแนกตามเนื้อหาของแบบทดสอบ
verbal test ข้อความชัดเจน ตอบแบบเขียน
non verbal test รูปภาพ
apparatus test ใช้เป็นเครื่องมือ
จำแนกตามวิธีการทดสอบ
เขียนตอบ paper pencil test
ปากเปล่า oral test
การทดสอบประเภทให้กระทำ
จำแนกตามการดำเนินการทดสอบ
ทดสอบรายบุคคล
ทดสอบรายกลุ่ม
จำแนกตามเวลาที่ใช้
ทดสอบที่ใช้ความเร็ว
ทดสอบที่ใช้พลัง
จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการวัด
แบบทดสอบเชาวน์ปัญญา
IQ = อายุสมองx100/อายุจริง
อายุสมอง=อายุจริง แปลว่าดี
เชาวน์ปัญญา มี perception ที่ดี
แบบทดสอบบุคลิกภาพ
สำรวจบุคลิกภาพ มีคำถามมาก เป็นเลือกตอบ มีความชัดเจน
แบบทดสอบฉายภาพจิตๆ ใช้ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เป็นพื้นฐานไม่มีความชัดเจน คำถามคลุมเครือ คำตอบไม่มีถูกผิด
แบบอื่นๆ
แบบทดสอบประสาทวิทยา หาความบกพร่องทางประสาทวิทยา
แบบทดสอบความถนัด
วัดความถนัดเฉพาะด้าน เช่น ด้านดนตรี เชิงกล
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ มีจำนวนมากที่สุด เช่น สอบ gat
End of life , Breaking bad news
Common communication
แจ้งข่าวร้าย
พูดเกี่ยวกับการณ์พยากรโรค
เป้าหมายในการรักษา
family meeting -สนทนาประเด็นวาระสุดท้ายของชีวิต
การบอกข่าวร้ายส่งผลถึงอารมณ์ Emotion response to loss (SAB-DA) (สามารถเริ่มจาก1-5 หรือสามารถวนกลับไปได้)
Shock ไม่ยอมรับ,ปฏิเสธความจริง
Anger โกรธหมอ โกรธตัวเอง โทษตัวเอง
Bargain ต่อรอง มีทางเลือกอื่นที่จะหายหรือไม่ พึ่งศาสนา พึ่งไสยศาสตร์
Despair ,depress ซึมเศร้า หมดหวัง ยอมรับ
Acceptance ยอมรับได้ เข้ากระบวนการรักษาเต็มที่
กระบวนกาการแจ้งข่าวร้าย (SPIKES)
S Setting : สร้างความสัมพันธ์ให้ผู้ป่วยรู้ว่าหวังดี เตรียมความพร้อม
P Perception การรับรู้ผู้ป่วยเกี่ยวกับปัญหา โรค การพูดคุยซักถามความเครียด
I Inveitation ให้ผู้ป่วยได้ใกล้ชิด บอกรายละเอียดในการรักษา ความต้องการของผู้ป่วย
K Knowledge บอกผู้ป่วย ให้ข้อมูลที่ชัดเจน เช็คความเข้าใจ หลีกเลี่ยงศัพท์แพทย์
E Empathy ให้ผู้ป่วยระบายหลังฟัง รับฟังให้กำลังใจ แต่ไม่หลอก
S Summary and strategy วางแผนการรักษา