Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ -…
บทที่3
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
อาณาจักรสุโขทัย
ระบบการปกครองและเสรีภาพ
ลักษณะการปกครอง
พ่อปกครองลูก
หลักการปกครองแบบ
ครอบครัว
กษัตริย์เปรียบเสมือนพ่อของครอบครัวใหญ่
มีความใกลช้ดกัน
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจของอาณาจักรสุโขทัยเป็นเศรษฐกิจการเกษตร
โครงสร้างสังคม
(1) ชนชนปกครอง กษัตริย์พระบรมวงศานุวงศและข้าราชการ พระภิกษุสงฆ์
(2) ชนชนที่ถูกปกครอง สามัญชนหรือไพร่ และทาส
อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา
ปัจจัยที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรือง
ตั้งอยู่ใกล้เมืองท่าชายฝั่งทะเล
ทำให ้มีการค้าขายได้สะดวก
มีแม่น้ำไหลผ่าน ทำให้เพราะปลูกข้าวได้ดี
การที่จักรวรรดิเขมรและอาณาจักรสุโขทัย ตกต่ำลง
โครงสร้างเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชการ
บริหารเป็นกลางระหว่างกษัตริย์และประชาชน
การปฏิรูปองค์การทางสังคม
ระบบศักดินา มาตราวัดลาดบชันทางสังคม
แบ่งเป็น 2 ชนชั้น
ชนชนผู้ปกครอง
ชนชนผู้ถูกปกครอง
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา
โลก รัชกาลที่ 1
การปกครองและการบริหาร ฟื้นฟูสถาบันกษัตริย์
การจัดองค์กรทางสังคม ระบบศักดินา สกเลิกไพร่
ด้านเศรษฐกิจ การค้ากับจีน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
รัชกาลที่ 2
เศรษฐกิจเงินตราและการค้าขยายตัว
ธุรกิจการค้าของราชสำนักขาดทุน
ในขณะที่การค้าส่วนพระองค์มีกำไรอย่างงาม
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่3
ยกเลิกการค้าของหลวง และเก็บภาษี
(38 ชนิด)
มีระบบราชการเป็นกลไกการเก็บภาษี
(ระบบเจ้าภาษี นายอากร) เป็นชาวจีน
พระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 4
บิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
สนธิสญญาเบาวริ่ง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 5
การเลิกทาส
การเลิกระบบไพร่
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 6
จัดตังมหาวิทยาลัย
เป็น“จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย”
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยหัว
รัชกาลที่7
พระราชทานรัฐธรรมนูญ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
รัชกาลที่8
พระราชทานปรารภในการผลิตแพทย์
ยุติความขัดแย้งระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมิพลอดุลยเดช
รัชกาลที่ 9
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ4,810 โครงการ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พระราชทานนาม “ราชภัฏ คนของพระราชา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหัวมหาวชิราลงกรณ์บดินทรเทพยวรางกรู
รัชกาลที่ 10
พระราโชบาย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น
มอบหมายภารกิจให้ราชภัฏเป็นทัพหน้าในการแก้ไขปัญหาสำหรับ ประชาชนในท้องถิ่น
อาณาจักรธนบุรี
มีการสกไพร่
เพื่อจดระเบียบชาติไทยขึันใหม่