Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ - Coggle…
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
อาณาจักรสุโขทัย
( พ.ศ. 1781-1981 )
ลักษณะการปกครอง
พ่อปกครองลูก
หลักการปกครองแบบครอบครัว กษัตริย์เปรียบเสมือนพ่อของครอบครัวใหญ่ เรียกว่า พ่อขุน
มีความใกล้ชิดกัน
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจการเกษตร
โครงสร้างสังคม
ชนชั้นปกครอง กษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ พระภิกษุสงฆ์
ชนชั้นที่ถูกปกครอง สามัญชนหรือไพร่ และธาตุ
อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา
( พ. ศ. 1893-2310 ) 417 ปี
ปัจจัยที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ
อยู่ใกล้เมืองท่าชายฝั่งทะเล ทำให้ค้าได้สะดวก
มีแม่น้ำไหลผ่าน ทำให้เพราะปลูกข้าวได้ดี
การที่จักรวรรดิเขมรและอาณาจักรสุโขทัยตกต่ำลง
โครงสร้างเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
การปกครอง
ลัทธิเทวสิทธิ์ ➕ มโนทัศน์ธรรมราชาจากสุโขทัย
ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกัน ข้าราชบริพารเป็นสื่อกลางระหว่างกษัตริย์ และประชาชน
ระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินา
การปฏิรูปการเมืองและการบริหาร สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ชื่อกรมต่างๆ ของจตุสดมภ์
กรมเวียง ใช้ชื่อว่า นครบาล
กรมวัง ใช้ชื่อว่า ธรรมาธิกรณ์
กรมคลัง ใช้ชื่อว่า โกษธิบดี
กรมนา ใช้ชื่อว่า เกษตราธิการ
การแยกกิจการทหารออกจากกิจการพลเรือน
สมุหนายก เป็นหัวหน้าราชการฝ่ายพลเรือน
สมุหพระกลาโหม เป็นหัวหน้าราชการฝ่ายทหาร
ในยามสงครามทั้งสองฝ่ายต่างต้องร่วมกันรบ
การปฏิรูปทางสังคม
ระบบศักดินา
ชนชั้นผู้ปกครอง
ชนชั้นผู้ถูกปกครอง
ระบบไพร่
ไพร่สม
ไพร่หลวง
ไพร่ส่วย
อาณาจักรธนบุรี
( พ. ศ. 2310-2325 )
มีการสักไพร่ เพื่อจัดระเบียบชาติไทยขึ้นใหม่
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
รัชกาลที่ 1
การปกครองและการบริหาร➡️ฟื้นฟูสถาบันกษัตริย์
การจัดองค์กรทางสังคม➡️ระบบศักดินา สักเลขไพร่
ด้านศาสนา➡️มีการสังคายนาพระไตรปิฎก
ด้านเศรษฐกิจ➡️การค้ากับจีน
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
ป้องกันราชอาณาจักร➡️ทำสงครามกับพม่าถึง 7 ครั้ง
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
รัชกาลที่ 2
เศรษฐกิจเงินตราและการค้าขยายตัว
ธุรกิจการค้าของราชสำนักขาดทุน ในขณะที่การค้าส่วนพระองค์ทำกำไรได้เยอะ
มีพระปรีชาสามารถด้านศิลปกรรม
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 3
ยุบเลิกการค้าของหลวง และเก็บภาษี 38 ชนิด
มีระบบราชการเป็นกลไกการเก็บภาษี
ชาวจีน
หนังสือจินดามณีเล่มที่ 2
ความรู้บนฝาผนังวัดพระเชตุพนวิมล-มังคลารามราชวรมหาวิหาร
พระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 4
สนธิสัญญาเบาว์ริง พ. ศ. 2398
พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย
โครงสร้างการบริหาร
การบริหารราชการส่วนกลาง
การบริหารราชการส่วนหัวเมือง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 5
ผู้สำเร็จราชการแทน: พระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)
การปฏิรูปและการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
การสร้างรัฐชาติแบบใหม่ รวมศูนย์อำนาจให้รัฐบาลกลางและการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในรัฐชาติ
ยกเลิกระบบกินเมือง
มีการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน➡️กระทรวง
มีกองทัพแบบทันสมัย คือ การเกณฑ์ทหาร
พระคลังระบบการเก็บภาษี➡️ หอรัษฎากรพิพัฒน์
การปฏิรูปการศึกษา ใช้หลักสูตรเป็นแนวเดียวกัน
ทั่วประเทศ
ภาษากลางคือภาษากรุงเทพฯ
พัฒนาให้เกิดความทันสมัยด้านต่างๆเพื่อให้สยามเป็นสังคมสมัยใหม่ใหม่
การปฏิรูปสังคม
การเลิกทาสและเลิกระบบไพร่
วางรากฐานของระบอบประชาธิปไตย
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 6
การปฏิรูป
ทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยดุสิตธานี
มีเสรีภาพทางด้านความคิด
บรรยากาศการเมืองภายนอกส่งผลต่อความคิดของคนไทย
สร้างความรู้สึกเรื่องชาตินิยม
เกิดกบฏ รศ 130 เพื่อทำการเปลี่ยนแปลง
สยามเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 1
จัดตั้งมหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 7
พระราชทานรัฐธรรมนูญ ฉบับแรกของไทย
เมื่อวันที่ 10 ธันวาคมพศ 2475
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8
ยุติความขัดแย้งระหว่างชาวไทยและชาวไทย
เชื้อสายจีน
พระราชปรารภในการผลิตแพทย์เพิ่มขึ้น โดยการจัดตั้งโรงเรียนแพทย์แห่งที่ 2 คือโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9
โครงการมาจากพระราชดําริ 4,810 โครงการ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 9
พระราชทานนาม "ราชภัฏ"
คนของพระราชา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ
บดินทรเทพยวรางกูร
รัชกาลที่ 10
สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนยากไร้
สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช เพื่อรักษาผู้ป่วยใน
พื้นที่ห่างไกล