Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะครรภ์แฝด (Multifetal Pregnancy) - Coggle Diagram
ภาวะครรภ์แฝด (Multifetal Pregnancy)
มโนทัศน์
มีความสัมพันธ์กับปัจจัยหลาย ๆ อย่าง
1) ขนาดตัวเมื่อเติบโตเต็มที่ ขนาดยิ่งใหญ่ จานวนบุตรยิ่งน้อย เช่น ช้างจะมีลูกน้อย เป็นต้น
2) ช่วงระยะเวลาของการตั้งครรภ์ ถ้านานกว่า 150 วัน จานวนบุตรยิ่งน้อย ยกตัวอย่างเช่น ช้างตั้งครรภ์ถึง 24 เดือน จึงจะออกลูกมา 1 ตัว
3) จานวนเต้านม ถ้ามีเพียง 2 เต้า จานวนบุตรมักจะมีครั้งละหนึ่ง แต่ถ้ามีมากกว่า 2 เต้าจานวนบุตรจากมาก เช่น หมู แมว และสุนัข เป็นต้น
4) ลักษณะของมดลูก ถ้ามีมดลูกอันเดียว จานวนบุตรมักจะมีครั้งละหนึ่ง
5) ช่วงความยาวของการมีชีวิต อายุยิ่งยืนยาว จานวนบุตรยิ่งน้อย
ความหมาย
ครรภ์แฝด (Multifetal หรือ Plural pregnancy) หมายถึงการตั้งครรภ์ที่มีทารกตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
อุบัติการ
อุบัติการของการตั้งครรภ์แฝดพบได้ 1 ใน 90 ของการตั้งครรภ์ทั้งหมด แบ่งออกเป็นสองชนิดคือ แฝดจากไข่ใบเดียวกัน (Monozygotic Twins) และแฝดจากไข่สองใบ (Dizygotic Twins)
เชื้อชาติ
ระดับของโกนาโดโทปีนในร่างกาย
รูปร่างของมารดา
การใช้ยากระตุ้นให้มีการตกไข่
อายุมารดาและจำนวนบุตร
การผสมเทียมในหลอดทดลอง
พันธุกรรม
ชนิดของครรภ์แฝด
แฝดร่วมไข่
Diamnionic, Dichorionic, Monozygotic Twins Preynancy เป็นครรภ์แฝดที่เกิดการแบ่งตัวหลังจากไข่ได้รับการผสมกับอสุจิแล้วภายใน 72 ชั่วโมงแรก
Diamnionic, Monochorionic, Monozygotic Twins Pregnancy เป็นครรภ์แฝดที่เกิดจากการแบ่งตัวหลังจากไข่ผสมกับเชื้ออสุจิแล้วภายในช่องเวลา 4-8 วัน
Monoamnionic, Monochorionic, Monozygotic Twins Pregnancy เป็นครรภ์แฝดที่เกิดการแบ่งตัวหลังจากไข่ผสมกับเชื้ออสุจิประมาณวันที่ 8
Conjoned Twins เป็นครรภ์แฝดที่เกิดการแบ่งตัวหลังจากที่ไข่ผสมกับตัวอสุจิเกิน 8 วันไปแล้ว
บริเวณหน้าอกติดกัน เรียกว่า Thoracopagus
บริเวณหลังติดกัน เรียกว่า Pyopagus
บริเวณศีรษะติดกัน เรียกว่า Craniopagus
บริเวณก้นติดกัน เรียกว่า Ischiopayus
แฝดต่างไข่
แฝดต่างไข่ เป็นแฝดที่เกิดจากไข่ 2 ใบ และเชื้ออสุจิ 2 ตัว
การวินิจฉัยครรภ์แฝด
1) การชักประวัติ ประวัติที่ต้องทราบ ได้แก่ ประวัติครรภ์แฝดในครอบครัวโดยเฉพาะประวัติทางฝ่ายมารดา หรือเคยตั้งครรภ์แฝดมาก่อน ประวัติการได้รับยากระตุ้นการตกไข่ หรือได้รับการผสมเทียม การให้ประวัติว่าการตั้งครรภ์ครั้งนี้พบว่ามดลูกมีขนาดโตเร็วกว่าปกติหรือทารกดิ้นมากผิดปกติ
การตรวจร่างกาย พบว่ามีน้าหนักเพิ่มขึ้นสูงกว่าปกติระหว่างตั้งครรภ์ มีอาการบวมโดยเฉพาะที่ขา มีความดันโลหิตสูงโดยไม่มีอาการอื่นของภาวะครรภ์เป็นพิษร่วม หรือมีภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ตั้งแต่ไตรมาสที่สอง มีภาวะซีดโดยไม่ดีขึ้นเมื่อให้การรักษาด้วยธุาตเหล็กและวิตามิน การตรวจครรภ์พบมีขนาดมดลูกโตมากกว่าระยะของการขาดประจาเดือน สังเกตหน้าท้องจะพบว่าโป่งตึง ขณะนอนงายก็ยังคงโค้งนูน คลาได้ศีรษะทารกมากกว่าหนึ่งแห่ง คลำได้แขนขามากกว่าธรรมดา คลำได้แผ่นหลังมากกว่าหนึ่งแห่ง มีภาวะครรภ์แฝดน้า ฟังเสียงหัวใจทารกได้มากกว่าหนึ่งแห่ง อยู่ห่างกันและมีอัตราแตกต่างกันอย่างน้อย 8-10 ครั้งต่อนาที หรือขนาดมดลูกยังโตอยู่หลังจากทารกคนที่หนึ่งคลอดแล้ว
การตรวจภายใน การตรวจภายในพบว่ามดลูกมีขนาดโตกว่าอายุครรภ์จริง โดยเฉพาะในระยะไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ ในขณะคลอดคลาพบถุงน้าอีกใบหนึ่งในขณะที่อีกใบหนึ่งถูกเจาะหรือแตกไปแล้ว
การตรวจพิเศษ
Ultrasound
Radiographic Examination
ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์
รกเกาะต่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ถุงน้าคร่าแตกก่อนกำหนดคลอด
Vasa Previa พบได้บ่อยขึ้น
การคลอดก่อนกำหนด
ครรภ์แฝดน้ำ (Hydramnios)
ภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ (PIH)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
โลหิตจาง
การคลอดยืดเยื้อ
การตกเลือดหลังคลอด
การคลอดติดขัด
ทารกพิการแต่กาเนิด
ทารกติดขัดกันเอง
Collision คือ ส่วนนำเบียดแย่งกันลงช่องเชิงกรานแต่ยังลงไม่ได้ทั้งคู่
Impaction คือ ส่วนนำทั้งคู่เบียดลงไปอัดแน่นกันอยู่ในช่องเชิงกราน
Interlocking คือ คางของทารกทั้งสองเกี่ยวติดกันในรายที่แฝดพี่ท่าก้นและแฝดน้องท่าศีรษะ
การติดเชื้อหลังคลอด
สายสะดือย้อย
ผลกระทบต่อทารก
การแท้ง อาจแท้งออกมาเพียงคนเดียว อีกคนหนึ่งรอดมีชีวิตต่อไปได้หรือแท้งทั้งหมด
ทารกตายในครรภ์
การตายปริกาเนิด เพิ่มขึ้นกว่าปกติจากการคลอดก่อนกำหนด จากการมีเส้นเลือดติดต่อกัน
ทารกโตช้าในครรภ์
ภาวะอันตรายปริกาเนิด
การติดเชื้อ พบในรายที่มีประวัติถุงน้าคร่าแตกก่อนกำหนดคลอด
การบาดเจ็บจากการคลอด อาจจากการคลอดผิดปกติหรือการทำสูติศาสตร์หัตถการ
คลอดก่อนกาหนด
ความพิการโดยกาเนิด
แฝดติดกัน
Stuck Twins
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและการวางแผนการพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการตกเลือดในระยะคลอดและหลังคลอดเนื่องจากภาวะโลหิตจาง
ข้อมูลสนับสนุน
มีฮีมาโตคริต 29 %
เยื่อบุตาซีด
ตั้งครรภ์แฝดสอง
แผนการพยาบาล
แนะนาให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารพวกโปรตีน ผักและผลไม้
ให้รับยาบารุงจาพวกวิตามินและธาตุเหล็กเพิ่มขึ้นมัดเพิ่มเป็น 2 เท่าของการตั้งครรภ์ปกติ และแนะนาให้กรดโฟลิคเสริมด้วย
แนะนาให้มาคลอดที่โรงพยาบาลที่มีความพร้อมต่อการช่วยเหลือหากมีการตกเลือด
แนะนำเรื่องการพักผ่อน
เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกาหนดเนื่องจากการตั้งครรภ์แฝด
ข้อมูลสนับสนุน
ตั้งครรภ์แฝดสอง
อายุครรภ์ 32 สัปดาห์บ่นว่าเจ็บท้องหน่องๆ
แผนการพยาบาล
แนะนาให้นอนพัก หรือหยุดทางาน(ปกติควรแนะนาให้นอนพักตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ เป็นต้นไป) อาจให้นอนพักอยู่กับบ้านหรือพักในโรงพยาบาล
ให้คาแนะนาว่าในไตรมาสที่สาม ควรงดมีเพศสัมพันธ์
ดูแลให้ได้รับยากลุ่ม Beta-sympathomimetics เช่น ritodrine,terbutaline,salbutamol
ดูแลช่วยเหลือแพทย์กรณีที่มารดาได้รับการเย็บปากมดลูก
อาจเกิดภาวะความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์เนื่องจากการตั้งครรภ์แฝด
ข้อมูลสนับสนุน
ตั้งครรภ์แฝดสอง
มีอาการบวมที่ขาทั้งสองข้างระดับ +1
มีความดันโลหิต 130/90 มิลลิเมตรปรอท
แผนการพยาบาล
แนะนาให้มารดาพักผ่อนให้มาก
วัดความดันโลหิตทุกครั้งที่มาฝากครรภ์
แนะนาสังเกตอาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัวและอาการบวมที่เพิ่มมากขึ้น
แนะนาให้นอนยกปลายเท้าทั้งสองข้างให้สูงโดยให้วางปลายเท้าบนหมอน
นัดมาฝากครรภ์บ่อยกว่าครรภ์ปกติและย้าให้มารดามาทุกครั้งตามนัด
ทารกในครรภ์อาจมีภาวะสุขภาพเบี่ยงเบนได้เนื่องจากตั้งครรภ์แฝด
ข้อมูลสนับสนุน
ตั้งครรภ์แฝดสอง
ผลการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทารกในครรภ์คนหนึ่งมีอัตราการเต้นของหัวใจ 170 ครั้งต่อนาที ในขณะที่อีกคนมีอัตราการเต้นของหัวใจ 155 ครั้งต่อนาที
ทารกคนที่มีอัตราการเต้นของหัวใจสูงมีน้าหนักประมาณ 1,200 กรัม ในขณะที่อีกคนมีน้าหนัก 2,000 กรัม
อายุครรภ์ 36 สัปดาห์
แผนการพยาบาล
อธิบายผลการตรวจทารกในครรภ์ให้มารดาทราบ
นัดให้มารดามาตรวจเพื่อติดตามภาวะสุขภาพของทารก โดยแพทย์จะตรวจด้วยเครื่องเสี่ยงความถี่สูงเป็นระยะ ๆ
แนะนาการรับประทานอาหารที่ช่วยเพิ่มน้าหนักทารกในครรภ์ทั้งสองคน
ระยะคลอด
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีเนื่องจากมีการขยายตัวของมดลูกมากเกินไป
ข้อมูลสนับสนุน
ตั้งครรภ์แฝดสอง
ทารกในครรภ์น้าหนักคาดคะเน 2,200 กรัม และ 2,100 กรัม
มีน้าคร่าคาดคะเนประมาณ 3,000 ลิตร
แผนการพยาบาล
งดน้าและอาหารทางปาก
ดูแลให้ได้รับสารน้าทางหลอดเลือดดาตามแผนการรักษา
เจาะเลือดส่งหากรุ๊ปเลือดและจองเลือดไว้อย่างน้อย 2 ยูนิต
ดูแลให้มารดาได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา
ดูแลให้ถ่ายปัสสาวะบ่อย ๆไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม
บันทึกการหดรัดตัวของมดลูกตามความเหมาะสมในแต่ละระยะของการคลอด
เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมดลูกขยายตัวมากเกินไป
ข้อมูลสนับสนุน
ตั้งครรภ์แฝด
ทารกในครรภ์น้าหนักคาดคะเน 2,200 กรัม และ 2,100 กรัม
มีน้าคร่าคาดคะเนประมาณ 3,000 ลิตร
แผนการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับสารน้าทางหลอดเลือดดาและบวก Syntocinon 10 ยูนิตตามแผนการรักษา
จองเลือดไว้อย่างน้อย 2 ยูนิต
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดตัวของมดลูกทันทีหลังรกคลอดสมบูรณ์
คลึงมดลูกให้มดลูกกลมแข็ง
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ตวงปริมาณเลือดที่สูญเลียระหว่างการคลอด
บันทาสัญญาณชีพหลังคลอดทุก 15 นาที 4 ครั้ง และทุก 30 นาที 2 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าสัญญาณชีพจะปกติ
เสี่ยงต่อการคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการจากทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ข้อมูลสนับสนุน
ตั้งครรภ์แฝด
ทารกแฝดพี่ท่าศีรษะ ส่วนแฝดน้องท่าก้น
มารดาเบ่งคลอดนาน 45 นาทีแล้วแฝดพี่ยังไม่คลอด
แผนการพยาบาล
ตรวจเช็ดส่วนนาและท่าของทารกให้แน่ใจ ในกรณีที่ทารกแฝดพี่อยู่ในท่าศีรษะสามา-รกให้คลอดทางช่องคลอดได้ แฝดน้องจะเป็นท่าศีรษะหรือท่าก้นก็มีโอกาสคลอดทางช่องคลอดได้ เพราะมีเวลาที่จะกดถ่างขยายปากมดลูกได้เต็มที่
เมื่อทารกแฝดพี่คลอดแล้วให้รีบตรวจเช็ดส่วนนาทารกแฝดน้อง คาดคะเนน้าหนัก ตรวจดูสายสะดือให้แน่ใจว่าไม่มีภาวะสายสะดือย้อย ถ้าส่วนนาของแฝดน้องลงไปในช่องเชิงกรานดีแล้วให้กดบริเวณยอดมดลูกและเจาะถูกน้าคร่า ตรวจให้แน่ใจอีกครั้งว่าไม่มีสายสะดือย้อยหรือรกลอกตัวก่อนกาหนด ถ้าส่วนนาไม่ลงให้กดมดลูกจนส่วนนาลงมา แล้วจึงเจาะถุงน้าคร่า
หากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี ดูแลให้ได้รับ Syntocinon ตามแผนการรักษา
ระยะหลังคลอด
เกิดการตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมดลูกขยายมากเกินไป
ข้อมูลสนับสนุน
เสียเลือดในระยะคลอด 700 มิลลิลิตร
คลอดบุตรแฝดน้าหนัก 2,200 กรัม และ 2,300 กรัม
ความดันโลหิต 110/70 มิลลิเมตรปรอท
แผนการพยาบาล
ดูแลให้ได้รับ Syntocinon ตามแผนการรักษา
ฉีด Methergin ให้ทันทีที่รกของแฝดน้องคลอดครบ
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
บันทึกสัญญาณชีพ
สังเกตและบันทึกปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ดูแลให้ได้รับอาหารและพักผ่อนเพียงพอ
ดูแลให้ได้รับสารน้าทางหลอดเลือดดา
เสี่ยงต่อการติดเชื้อในโพรงมดลูกเนื่องจากการคลอดยืดเยื้อและการใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
มารดาใช้ระยะเวลาในการคลอดทั้งหมด 18 ชั่วโมง
แฝดน้องท่าศีรษะแต่คลอดด้วยการใช้เครื่องดูดสูญญากาศช่วยดึง
มารดามีไข้ต่าๆ 37.8 องศาเซลเซียส
แผนการพยาบาล
ดูแลให้มารดาได้รับยาปฎิชีวนะตามแผน
วัดไข้ทุก 4 ชั่วโมง
สังเกตสีและกลิ่นของน้าควาปลา
แนะนำให้เปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 4 ชั่วโมงหรือทุกครั้งที่ชุ่ม
แนะนาการดูแลรักษาความสะอาด
ดูแลให้ได้พักผ่อนและรับอาหารอย่างเพียงพอ