Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการบริหาร, นางสาวสิริกาญจน์ ปิยะรุณ 614991038, หลักการพื้นฐาน -…
เทคนิคการบริหาร
การจัดการความขัดแย้ง (Conflict Management)
ความไม่ลงรอยกัน หรือสภาวะที่ไม่เห็นพ้องต้องกัน หรือความเป็นปฏิปักษ์กัน ระหว่าง บุคคล หรือกลุ่มบุคคล ตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป
ลักษณะของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งที่สร้างสรรค์ (Functional Conflict)
การเผชิญหน้าระหว่างกลุ่ม หรือสมาชิกในองค์การ เพื่อสร้างประโยชน์ หรือผลเชิงบวกให้แก่องค์กรหรือคนในองค์กร แต่ต่างวิธีการหรือต่างความคิด
ความขัดแย้งที่ไม่สร้างสรรค์ (Dysfunctional Conflict)
การเผชิญหน้าระหว่างกลุ่ม หรือสมาชิกในองค์การ เพื่อสร้างผลกระทบในเชิงลบให้แก่บุคลากรหรือองค์กร ก่อให้เกิดความเกลียดชังและเป็นปรปักษ์
ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้ง ภายในตัวบุคคล (Intrapersonal Conflict)
เป็นความขัดแย้ง ภายในจิตใจของตัวเอง
ความขัดแย้ง ระหว่างบุคคล (Interpersonal Conflict)
เป็นความขัดแย้งที่ เกิดขึ้นระหว่างบุคคล 2 คน หรือมากกว่า
ความขัดแย้ง ระหว่างกลุ่ม (Intergroup Conflict)
เป็นความขัดแย้งที่ เกิดขึ้นระหว่างกลุ่ม บุคคลทั้ง 2 กลุ่ม
สาเหตุของความขัดแย้ง
อุปสรรคของ การติดต่อสื่อสาร หรือการสื่อข้อความ (Communication Obstruction)
แข่งขันเพื่อแย่งชิง ทรัพยากรที่มีจำกัด (Competition for Limited Sources)
ลักษณะงาน ที่ต้องพึ่งพา ซึ่งกันและกัน (Task Interdependence)
การกำหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบ ของงานไม่ชัดเจน (Ambiguously Defined Responsibilities)
พฤติกรรมที่มีผลมาจากความขัดแย้ง
Avoidance (การหลีกเลี่ยง)
เป็นการเลี่ยงปัญหาหรือบุคคลที่จะ ทำให้เกิดความขัดแย้ง
Accommodation (การยินยอม)
ลดปริมาณความขัดแย้งลงเพื่อ ไม่ให้กระทบความสัมพันธ์
Compromise (การประนีประนอม)
การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ (แต่ละ ฝ่ายได้บางส่วนและเสียบางส่วน)
Competition (การแข่งขัน)
เป็นการพยายามใช้อำนาจเหนือคนอื่น เพื่อให้ ได้การยอมรับ
Collaboration (การร่วมมือกัน)
เป็นการแก้ความขัดแย้งแบบ “ชนะ-ชนะ” (win-win)
การเสริมสร้างพลังอำนาจ (Empowerment)
การใช้กลยุทธ์การเสริมสร้างพลังอำนาจให้กับผู้ป่วย “ผู้ป่วยเป็นผู้กำหนดความสำเร็จในการดูแล ตนเองให้ดีขึ้น โดยใช้พลังอำนาจของตนเองในการกระทำ บุคลากรทางการแพทย์เป็นเพียงส่วน สนับสนุนกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจนั้น”
Participation การมีส่วนร่วม
เกิดการเพิ่มโอกาสและผลักดัน ให้เกิดการเสริมสร้างอำนาจ
Human Rights การเคารพสิทธิขั้นพื้นฐาน
การพูดและการแสดง ความคิดเห็นได้รับการรับฟัง
Accessibility to information & resources การเข้าถึงแหล่งข้อมูล และทรัพยากร
สามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในด้านต่าง ๆ เช่น การดูแลตนเอง (Self-care)
Decision-making การมีอำนาจตัดสินใจ
ทำให้เกิดความเชื่อมั่น ในการตัดสินใจ ทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง
Decentralization การกระจายอำนาจ
ความสัมพันธ์เชิงราบ ในทุกระดับขององค์การ
การก่อให้เกิดการเสริมสร้างอำนาจ
การประชุม/การพูดคุย ที่รูปแบบการสนทนาของทั้งสองฝ่ายมีความเท่าเทียมกัน อีกฝ่ายหนึ่งพูด อีกฝ่ายหนึ่งฟัง
Dialogue การพูดคุย
หลักการสำคัญคือ การให้เป็นผู้ตัดสินใจเลือกวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเอง
Counselling การให้คำปรึกษา
การให้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ เพื่อนำไปสู่การเสริมสร้างพลังอำนาจให้แก่ตนเอง
Workshop การประชุมเชิงปฏิบัติการ
”Knowledge is Power”
Dissemination การเผยแพร่ข้อมูล
ก่อให้เกิดความมั่นคงและการเห็นคุณค่าในตนเอง ทำให้เกิดพลังอำนาจในการดำเนินชีวิต
Love & Kindness ความรักและความเมตตา
นางสาวสิริกาญจน์ ปิยะรุณ 614991038
หลักการพื้นฐาน