Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลในงานอนามัยชุมชน, นางสาวสุธิดา เหล็กงาม รหัส 601680 -…
กระบวนการพยาบาลในงานอนามัยชุมชน
องค์ประกอบในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาของชุมชน
ส่วนประกอบสำคัญการดำเนินงานตามแผนเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน
ทักษะที่สำคัญ (Technical skill)
การตรวจร่างกาย การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้น การทำหัตถการ
จริยธรรมและวัฒนธรรมของท้องถิ่น (Ethical and culture)
ยึดประโยชน์ของกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีผลกระทบในวงกว้าง
สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่น
การมีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มเป้าหมาย (Interpersonal verbal & non verbal)
อาศัยทักษะการสร้างสัมพันธภาพและการประสานงานที่ดี
ทางวาจา
สัญญาลักษณ์
กระบวนการสื่อสาร
มีบทบาทในการเพิ่มการใช้บริการของประชาชน
สนับสนุนให้เกิดวิถีชีวิต
รายบุคคลและมวลชน (Mass media)
พัฒนาสมรรถนะขององค์กร
สนับสนุนนโยบาย
ความรู้ (Cognitive)
นำมาใช้ในการดูแล,การแก้ไขปัญหาและตอบสนองต่อความต้องการด้านสุขภาพของคนในชุมชน
ประกอบด้วยความรู้จากหลากหลายศาสตร์
ขั้นตอนการปฏิบัติงานในชุมชน
1)ขั้นเตรียมงานตามแผนอนามัยชุมชน
1) จัดประชุมกลุ่มศึกษา
2) กำหนดตัวบุคคล และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
3) กำหนดรูปแบบแนวทางการประสานงาน
4) ตรวจสอบความพร้อมของทรัพยากร และงบประมาณ
5) ประชาสัมพันธ์
อสม เข้าไปเคาะประตูบ้าน โทรศัพท์ทางไลน์ (LINE) เฟสบุ๊ค (Facebook)
2)ขั้นดำเนินการ
1) การปฏิบัติกิจกรรมที่กำหนดไว้ตามขั้นตอน
2) การปฏิบัติตามแผนงาน
3) การปฏิบัติงานตามมาตรฐานของวิชาชีพอย่างเคร่งครัด
4) ขั้นตอนนการปฏิบัติงาน
จัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องใช้ต่างๆ
นัดหมายผู้รับผิดชอบงาน
ไปจุดนัดหมายก่อนถึงกำหนดเวลา
ดำเนินกิจกรรมตามขั้นตอน
บันทึกการดำเนินกิจกรรมต่างๆ
1 more item...
5) ควบคุม นิเทศ และติดตามงาน
การติดตาม
แผนการปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์
เครื่องมือในการติดตาม
แผนภูมิการดำเนินงาน หรือแผนผังกำกับงาน หรือผังแกนท์ (Gant chart)
การบันทึก
เพื่อเป็นหลักฐานและเป็นการประเมินความก้าวหน้าของการปฏิบัติงาน
วัน เวลา ที่ดำเนินกิจกรรมตามแผน
การควบคุม
การควบคุมผลการปฏิบัติงาน (Product control)
การควบคุมบุคลากร (Personal control)
การควบคุมด้านการเงิน (Financial control)
การควบคุมทรัพยากรทางกายภาพ (Control of physical resonances)
การควบคุมเทคนิควิธีการปฏิบัติงาน (Control of techniques)
การปฏิบัติงานตามแผน (Implementation)
การปฏิบัติเพื่อสร้างเสริม (Promote) คงไว้(Maintain) หรือฟื้นฟู (Rehabilitation) ภาวะสุขภาพ รวมทั้งลดความเสี่ยง (Risk reduction) ของประชาชน
แผนงานหลัก (Master plan)
โครงการ (Project)
แผนงานรอง (Sub plan)
กำหนดวิธีการประเมินผลงานอนามัยชุมชน
3 ระยะ
การประเมินผลโครงการก่อนการปฏิบัติงาน (Pre Implementation Evaluation)
การประเมินผลโครงการในระหว่างการปฏิบัติงาน (Formative/ On-going Evaluation)
การประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ (Summative/ Post Evaluation)
การประเมินควรพิจารณา 5 ลักษณะ
การวัดประสิทธิผล (Evaluation of Effectiveness)
วัตถุประสงค์ = วัตถุประสงค์ที่ทำได้ /วัตถุประสงค์ที่กำหนด x 100
กิจกรรม = จำนวนกิจกรรมที่ทำได้/จำนวนกิจกรรมที่กำหนด x 100
งบประมาณ = ค่าใช้จ่ายที่เป็นจริง/ค่าใช้จ่ายที่กำหนดไว้ในโครงการ x100
การวัดความเพียงพอ ( Evaluation of Adequacy )
พิจารณาโครงการแก้ไขปัญหาได้มากน้อยเพียงใด ครอบคลุมประชาชนมากน้อยเพียงใด
บอกจำนวนประชาชนที่รับบริการว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่
การวัดความเหมาะสม (Evaluation of Appropriateness)
พิจารณาในแง่ความจำเป็นการยอมรับของประชาชน
การวัดประสิทธิภาพ (Evaluation of Efficiency)
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย = ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของกิจกรรม/จำนวนกิจกรรมที่ทำได้
การวัดผลข้างเคียง (Evaluation of Side effect)
พิจารณาผลดีผลเสียของโครงการ
ประโยชน์
ทราบถึงความก้าวหน้าของการดำเนินงาน จุดอ่อน จุดแข็ง
ทราบถึงระดับความสำเร็จของงาน และผลข้างเคียง
ช่วยในการจัดสรรทรัพยากร และบุคลากร
การสร้างขวัญและกำลังใจ
ช่วยในการพัฒนาปรับปรุงแผนให้สอดคล้องกับปัญหา
นางสาวสุธิดา เหล็กงาม รหัส 601680