Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวชเด็กที่มีภาวะบกพร่…
บทที่ 4 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีการเจ็บป่วยทางจิตเวชเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา (intellectual disability) คือ ภาวะปัญญาอ่อน (mental retardation) หมายถึง ภาวะที่เกิดขึ้นในระยะพัฒนาการจากการที่สมองของเด็กหยุดพัฒนาหรือมีการพัฒนาอย่างไม่สมบูรณ์ ส่งผลให้เกิดความบกพร่องของพัฒนาการด้านต่าง ๆ ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม ภาษา สติปัญญา
ระดับความรุนแรงของภาวะ
บกพร่องทางสติปัญญา
บกพร่องทางสติปัญญาปานกลาง (moderate intellectual disability)
ระดับ IQ 35-49
ต้องการความช่วยเหลือปานกลาง
ด้านสังคม จะรับรู้ระเบียบทางสังคมได้ไม่ถูกต้อ
ด้านการปฏิบัติ สามารถดูแลตนเองได้แต่ต้องใช้เวลาในการฝึก
ด้านความคิด ทักษะการสื่อสารการพูด การอ่าน การเขียน
บกพร่องทางสติปัญญารุนแรง (severe intellectual disability)
ระดับ IQ 20-34
ต้องการความช่วยเหลือมาก
ด้านสังคม มีข้อจำกัดใการพูด พูดเป็นคำ ๆ หรือวลี
ด้านกาปฏิบัติ ต้องการความช่วยเหลือทุกอย่างในการทำกิจวัตรประจำวัน
ด้านความคิด มีข้อจำกัด ด้านการคิด ภาษา การแก้ปัญหาตลอดชีวิต
บกพร่องทางสติปัญญาเล็กน้อย (mild intellectual disability)
ระดับ IQ 50-69 ต้องการ
ความช่วยเหลือเป็นครั้งคราว
ด้านสังคม เด็กจะมีปัญหาในการปฏิสัมพันธ์ด้านทางสังคมกับบุคลอื่น
ด้านการปฏิบัติ สามารถดูแลตนเองได้เหมาะสมตามวัย
ด้านความคิด เด็กจะมีความบกพร่องของความคิดเชิงนามธรรม
บกพร่องทางสติปัญญารุนแรงมาก (profound intellectual disability)
ระดับ IQ < 20
ต้องการความช่วยหลือตลอดวล
ด้านการปฏิบัติ ต้องพึ่งพาผู้อื่นในทุกด้านของการทำกิจวัตรประจำวัน
ด้นความคิด และด้านสังคม มีข้อจำกัดในการเข้าใจสัญลักษณ์ของการสื่อสารด้วยคำพูดหรือท่าทาง
สาเหตุและการบำบัด
การบำบัด
กิจกรรมบำบัด
ฝึกการทำงานของกล้ามเนื้อให้สามารถทำงานสัมพันธ์กันระหว่างตาและมือ (eye-hand co-ordination)
ส่งเสริมความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน
การส่งเสริมพัฒนาการของกล้ามเนื้อมัดเล็ก
อรรถบำบัด : โดยฝึกเด็กให้ใช้กล้ามเนื้อในการพูดการเปล่งเสียง
การจัดโปรแกรมการฝึกทักษะ : รกระตุ้นพัฒนาการตั้งแต่เล็ก ๆ
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา : การจัดการศึกษาพิเศษ การเรียนรวมกับเด็กปกติ
กายภาพบำบัด : เป็นการส่งเสริมพัฒนาการของกล้ามเนื้อมัดใหญ่
การพื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ : เป็นการฝึกอาชีพให้กับเด็กเป็นงานที่ไม่ซักซ้อน
การรักษาโรคทางกาย
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนที่พบในกลุ่มอาการดาวน
อาการชักหัวใจพิการแต่กำเนิด
การให้คำแนะนำครอบครัว : ครอบครัวจะมี
ความสำคัญในการดูแลเด็ก
สาเหตุ
ปัจจัยในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์ การใช้
แอลกอฮอล์ยาหรือสารเคมีอื่น ๆ อาจส่ผลต่อพัฒนาการของสมองทารกใครรภ์ได
ระยะคลอด การคลอดก่อนกำหนด กระบวนการคลอดนานผิดปกติ
ระยะหลังคลอด สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากโรคที่เกิดในวัยเด็ก
โรคไอกรน โรคอีสุกอีใส
โรคหัด อาจนำไปสภาวะเยื่อทหุ้มสมองอักเสบ (meningitis)
และสมองอักเสบ (encephalitis)
ปัจจัยทางจิตสังคม
ครอบครัวแตกแยก
ผู้เลี้ยงดูมีความผิดปกติทางจิต
เด็กที่เติบโตมาท่ามกลางความยากจน
ปัจจัยทางพันธุกรรม
กลุ่มอาการฟลาจิลเอกซ์ (flaggy X syndrome)
เฟนิลคีโตนยูเรีย (phenylketonuria)
ดาวน์ซินโดรม (down syndrome)
การพยาบาล
การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล (planning and implementation)
กิจกรรมการพยาบาลต่อตัวเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ลักษณะที่ 1 การส่งเสริมพัฒนาการตามความสามารถของเด็กี่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ลักษณะที่ 2 การช่วยเหลือเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญาที่มีปัญหาทางจิตเวช
ลักษณะที่ 3 ด้านการศึกษาและการฝึกอาชีพ
การป้องกันภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
ระยะตั้งครรภ์
ควรฝากครรภ์ตั้งแต่แรกและได้รับการตรวจครรภ์สม่ำเสมอ
ได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวในระหว่างตั้งครรภ์
การส่งเสริมสุขภาพจิต
ระยะคลอด
ควรได้รับการทำคลอดในสถานพยาบาลที่ได้มาตรฐาน
ระยะก่อนตั้งครรภ์
การฉีดวัคซีน ป้องกันหัดเยอรมัน
การรับประหนอาหารที่มีธาตุไอโอดีน
อายุมารดาที่เหมาะสมกับการตั้งครรภ์
การรับคำปรึกษาก่อนสมรส และการวางแผนครอบครัว
ระยะหลังคลอด
ได้รับความรักความอบอุ่นจากครอบครัว
ความพร้อมในการเลี้ยงดู
การดูแลให้เด็กได้รับอาหารทีเหมาะสมตามวัย
ได้รับวัคซีป้องกันโรค
ติดตามการเจริญเติบโตและมีพัฒนาการตามวัยอย่างต่อเนื่อง
การช่วยเหลือครอบครัว
ช่วยให้พ่อแม่ยอมรับลูกและมีความหวัง
ให้คำปรึกษาพ่อแม่
ช่วยประคับประคองจิตใจของพ่อแม่
การประเมินผล (evaluation)
มีการประเมินผลที่เกิดขึ้นว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์
เปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมินผลที่ได้กำหนดไว้
ถ้าไม่เป็นไปตามเกณฑ์ พยาบาลจะต้องนำผลที่ประเมินได้มาปรับแผนการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (nursing diagnosis)
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากอยู่ไม่นิ่งและการทรงตัวไม่ดีกล้ามเนื้ออ่อนแรง
มีความกพร่องในการช่วยเหลือตนเองที่เหมาะสมตามวัยเนื่องจากพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดเล็กล่าช้า
ไม่สามารถสื่อสารบอกความต้องการของตนเองได้เนื่องจากพัฒนาการด้านการใช้ภาษาล่าช้า
การประเมินสภาพ (assessment)
ใช้แบบคัดกรองพัฒนาการ
แบบคัดกรองพัฒนาการอนามัย 55 (พัฒนาการเด็กปฐมวัย)
ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและการใช้ตา
ความสมารถในการใช้เสียงและพฤติกรรมที่แสดงออกเพื่อสื่อความเข้าใจ
ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
ความสามารถด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเอง
คู่มือคัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิดถึง 5 ขวบ (Thai Deployment Skills Inventory: TDSI) แบบประเมินมี 70 ข้อ
ด้านการเข้าใจภาษา (receptive language: RL)
ด้านการใช้ภาษา (expressive language: EL)
ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา (fine motor: FM)
ด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม (personal social: PS)
ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ (gross motor: GM)
การตรวจสภาพจิต
การเคลื่อนไหว สติปัญญา ความจำ สมาธิ ภาพลักษณ์
การรับรู้ต่อตนเอง ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
การพูดและการใช้ภาษา อารมณ์ ความคิด
การตัดสินใจ
สภาพแวดล้อม
การตรวจลักษณะทั่วไป สีหน้าท่าทาง การแสดงออก การรับรู้
การประเมินพัฒนาการ (developmental assessment)
การซักถามพ่อ แม่ หรือผู้ใกล้ชิด
สังเกตจากพฤติกรรมการเล่นของเด็ก
การประเมินด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ
ลักษณะนิสัยและบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว
รูปแบบการติดต่อสื่อสาร
สัมพันธภาพในครอบครัว
รูปแบบการเลี้ยงดู
การประเมินด้านร่างกาย (physical assessment)
ผลการตรวจอื่น ๆ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจคลื่น หัวใจ
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
การเจริญเติบโต
ประวัติการกิน
อาการสำคัญ
อื่น ๆ
อาการและอาการแสดง
ลักษณะประกอบกันของใน 3 ลักษณะ
ความบกพร่องทางสติปัญญา (deficits in intellectual function)
ความคิดนามธรรม
การตัดสินใจ
การวางแผน
การเรียนรู้ในโรงเรียน
การแก้ปัญหา
การเรียนรู้จากประสบการณ์
การให้เหตุผล
ความบกพร่องของการปรับตัว (deficits in adaptive function)
การส่วนร่วมในสังคม
การพึ่งตนเองในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
การสื่อสาร
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญาและการปรับตัว
เกิดขึ้นตั้งแต่ในระยะของพัฒนาการ
3 ลักษณะที่ประกอบกันข้างต้นมีลักษณะอาการ
และอาการแสดงที่สำคัญ ได้แก่
มีความบกพร่องด้านเชาว์ปัญญา
มีปัญหาด้านพฤติกรรม
มีพัฒนาการล่าซ้ำ
มีลักษณะผิดปกติของรูปร่างอวัยวะต่าง ๆ
นางสาวอรอุมามะลัยคำ พยบ.ปี 3 รหัสนักศึกษา 180101026