Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Implementation and Evaluation, นางสาวปรียาภรณ์ ไตรยะวิภาค รหัส 600965 -…
Implementation
and
Evaluation
การปฏิบัติงาน
ตามแผน
(Implementation)
องค์ประกอบสำคัญของการดำเนินงานตามแผนเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพชุมชน
ความรู้ (Cognitive)
การมีปฏิสัมพันธ์ภายใน
กลุ่มเป้าหมาย
(Interpersonal verbal &
non verbal)
ทักษะที่สำคัญ (Technical skills)
จริยธรรมและวัฒนธรรมของท้องถิ่น
(Ethical and culture)
กระบวนการสื่อสาร
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ในชุมชน
ขั้นเตรียมงานตามแผนอนามัยชุมชน
จัดประชุมกลุ่มศึกษา
กำหนดตัวบุคคลและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
กำหนดรูปแบบแนวทางการประสานงาน
ตรวจสอบความพร้อมของทรัพยากรและงบประมาณ
ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนหรือกลุ่มเป้าหมายทราบถึงวัน เวลา สถานที่ และชี้แจงวัตถุประสงค์
ขั้นดำเนินการ
การปฏิบัติกิจกรรมที่กำหนดไว้ตามขั้นตอน
การปฏิบัติงานตามแผนงาน
การปฏิบัติงานตามมาตรฐานของวิชาชีพอย่างเคร่งครัด
การปฏิบัติงานตามแผนกิจกรรม
จัดเตรียมอุปกรณ์
นัดหมายผู้รับผิดชอบงานในส่วนต่างๆ
ไปยังจุดนัดหมายก่อนถึงเวลากำหนด
ดำเนินกิจกรรมตามขั้นตอนที่กำหนดไว้
บันทึกการดำเนินกิจกรรมต่างๆโดยละเอียด
รวบรวมสิ่งของเครื่องใช้ ทำความสะอาด จัดเก็บให้เรียบร้อย
รวบรวมรายงาน ละสรุปการดำเนินงาน
ควบคุมนิเทศและติดตามงาน
การควบคุม
การควบคุมผลการปฏิบัติงาน(Productcontrol)
การควบคุมบุคลากร(Personalcontrol)
การควบคุมด้านการเงิน(Financialcontrol)
การควบคุมทรัพยากรทางกายภาพ(Controlofphysicalresonances)
การควบคุมเทคนิค
วิธีการปฏิบัติงาน
(Controloftechniques)
การติดตามและควบคุม ได้แก่ แผนภูมิการดําเนินงาน หรือแผนผังกํากับงาน หรือผังแกนท์ (Gant chart)
การบันทึก การปฏิบัติงานต้องมีรายงานผลการปฏิบัติงาน
การประเมินผล
การปฏิบัติงาน
การประเมินผลโครงการก่อนการปฏิบัติงาน
(PreImplementationEvaluation)
ปัญหาของชุมชนมีความชัดเจน เพียงพอหรือไม่มี
แผนงานสอดคล้องกับนโยบายและปัญหาของชุมชนหรือไม
การกําหนดวัตถุประสงค์ของแผนงานและวัตถุประสงค์ของโครงการ
กิจกรรมของแผนงานสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และบรรลุวัตถุประสงค์ได้หรือไม
การบริหารและการจัดการในแผนงานกําหนดไว้อย่างชัดเจนหรือไม่
ด้านเทคนิคในการดําเนินงาน เครื่องมือเครื่องใช้มีความเหมาะสม
เพียงพอต่อการนําไป
ปฏิบัติงานหรือไม่
ความพร้อมด้านงบประมาณ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านสังคมเป็นอย่างไร
การประเมินผลโครงการในระหว่างการปฏิบัติงาน (Formative/ On-going Evaluation)
ผลการปฏิบัติของโครงการ ตรงกับเกณฑ์ที่กําหนดไว้หรือไม่ ทั้งในระดับปริมาณ คุณภาพ และ ตารางเวลา
องค์ประกอบส่วนไหน ด้านใดที่ส่งผลทําให้การดําเนินงานประสบความสําเร็จ หรือทําให้การ ดําเนินงานล้มเหลว
การให้บริการ ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย/ประชาชนในชุมชนหรือไม่
ปัจจัยนําเข้าต่าง ๆ มีครบถ้วนเพียงใด หรือไม่ตรงตามเวลาที่กําหนดไว้เพียงใด
การประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ (Summative/ Post Evaluation)
การวัดประสิทธิภาพ (Evaluation of Efficiency)
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย = ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของกิจกรรม/จำนวนกิจกรรมที่ได้ทำ
การวัดประสิทธิผล (Evaluation of Effectiveness)
การประเมิน ระสิทธิผลของวัตถุประสงค์ = วัตถุประสงค์ที่ทำได้/วัตถุประสงค์ที่กำหนด*100
การประเมินประสิทธิผลของกิจกรรม =จำนวนกิจกรรมที่ทำได้/จำนวนกิจกรรมที่กำหนด*100
การประเมินประสิทธิผลของงบประมาณ = ค่าใช้จ่ายที่เป็นจริง/ค่าใช้จ่ายที่กำหนดไว้ในโครงการ*100
การวัดความเพียงพอ ( Evaluation of Adequacy ) โดยบอกจํานวนประชาชนที่รับบริการ ว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม
การวัดความเหมาะสม (Evaluation of Appropriateness) เป็นการพิจารณาในแง่ความ จําเป็นการยอมรับของประชาชน
การวัดผลข้างเคียง (Evaluation of Side-effect) เป็นการพิจารณาผลดีผลเสียของโครงการ นอกเหนือจากวัตถุประสงค
นางสาวปรียาภรณ์ ไตรยะวิภาค รหัส 600965