Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล, image, นายณัฐนันท์ วาจาสัตย์…
หน่วยที่ 3
เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
3.1 การมอบหมายงานและตรวจเยี่ยมทางการพยาบาล
3.1.1 การมอบหมายงาน
3.1.1.1 ความหมายและวัตถุประสงค์
3.1.1.2 ปัจจัยที่ควรคำนึงถึง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงาน(Task-Related Factors)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสัมพันธภาพ (Relationship Factors)
3.1.1.3 หลักการมอบหมายงาน
การมอบหมายงานแบบรายผู้ป่วย(Case Assignment)
การมอบหมายงานตามหน้าที่(Functional Assignment)
การมอบหมายงานแบบทีมการพยาบาล(Team Nursing)
การมอบหมายงานระบบพยาบาลเจ้าของไข้(Primary Nursing)
การมอบหมายแบบจัดการผู้ป่วยรายกรณี(Case Management)
การมอบหมายแบบผสมผสาน(Multiple Modality)
3.1.2 การตรวจเยี่ยมทางการพยาบาล
3.1.2.1 ความหมายและวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของการตรวจเยี่ยม
เพื่อเป็นการประกันคุณภาพการพยาบาล
เป็นการรักษาการติดต่อสัมพันธ์กับบุคลากรทุกคนที่ทำหน้าที่ในการดูแลผู้ป่วย
เป็นโอกาสในการใช้การสังเกตความสามารถในการทำงาน
ค้นหาข้อมูลจากผู้ป่วยและครอบครัว
เป็นการกระตุ้นส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรขณะปฏิบัติงาน
การวางแผนตรวจเยี่ยม (Planning for Rounds)
วัตถุประสงค์การตรวจเยี่ยม (Objective)
ใครเป็นผู้ปฏิบัติการตรวจเยี่ยม (Who)
ประเภทของการตรวจเยี่ยม (What)
จะทำการตรวจเยี่ยมที่ไหน (Where)
เวลาที่จะทำการตรวจเยี่ยม (What Time)
3.1.2.2 ขั้นตอนการตรวจเยี่ยม
3.1.2.3 ประเภทการตรวจเยี่ยม
การตรวจเยี่ยมผู้ป่วย(Patient Rounds)
การตรวจเยี่ยมบุคลากร (Personnel Rounds)
การตรวจเยี่ยมโรงพยาบาล (Hospital Rounds)
การตรวจเยี่ยมสาธารณะ (Public Rounds)
3.2 การนิเทศและการประเมิน ผลทางการพยาบาล
3.2.1 การนิเทศ
3.2.1.1 ความหมายและความสําคัญ
3.2.1.2 หลักการนิเทศการพยาบาล
3.2.1.3 กระบวนการนิเทศการพยาบาล
3.2.1.4 คุณสมบัติผู้นิเทศ
คุณสมบัติทางบุคลิกลักษณะ
คุณสมบัติทางด้านวิชาการ
คุณสมบัติทางด้านจิตวิทยา
คุณสมบัติทางด้านเจตคติและอารมณ์
คุณสมบัติทางด้านสังคม
3.2.1.5 เครื่องมือในการนิเทศ
3.2.2 การประเมินผลทางการพยาบาล
3.2.2.1 ความหมายและวัตถุประสงค์
3.2.2.2 ประเภทและรูปแบบของการประเมินผล
3.2.2.3 กระบวนการประเมินผลทางการพยาบาล
3.2.2.4 การประเมินผลทางการพยาบาลที่สําคัญ
3.3 มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารงาน
3.3.1 ความหมายและพัฒนาการของมนุษยสัมพันธ์
3.3.2 องค์ประกอบของมนุษยสัมพันธ์
3.3.3 การปรับตนและสร้างมนุษยสัมพันธ์
3.3.4 การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการพยาบาล
การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้ใต้บังคับบัญชา
การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ใต้บังคับบัญชาที่เป็นเรื่องสําคัญเพราะจะได้ไม่ทํางานอย่างโดดเดี่ยวแต่จะมีผู้ร่วมงานที่ดีมีความรักความผูกพันกับงาน
การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา
แต่ผู้บังคับบัญชาก็มีความสําคัญเป็นพิเศษไม่ยิ่ง
หย่อนไปกว่ากันเพราะผู้บังคับบัญชาเป็นผู้สนับสนุนให้ก้าวหน้าหรือเลื่อนขั้นเรื่องตําแหน่งให้
การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน
กลุ่มที่มีอิทธิพลต่อการทํางานมากที่สุดคือกลุ่มเพื่อนร่วมงาน
3.4 การจูงใจและความพึงพอใจในงาน
3.4.1 การจูงใจ
การบริหารงานให้ประสบความสําเร็จตามนโยบาย หรือแผนงานนั้นผู้บริหารนอกจากจะต้องมี
สิ่งจูงใจ (Motivators หรือ Incentives)
สิ่งจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivators)
สิ่งจูงใจภายใน (Intrinsic Motivators)
3.4.1.3 ทฤษฎีการจูงใจในการบริหารงาน
ทฤษฎีระดับความต้องการของมาสโลว์
ทฤษฎีการจูงใจว่าด้วย ERG ของอัลเดอร์เฟอร์
ทฤษฎีความต้องการประสบผลสําเร็จของแมคแคลแลนด์และแอทคินสัน
ทฤษฎีการจูงใจของเฮอรซเบอร์ก
ทฤษฎีการจูงใจของ แมกเกรเกอร์
ทฤษฎีแรงเสริมของสกินเนอร์
ทฤษฎีความคาดหวังของรูม
ทฤษฎีความชอบธรรม
ทฤษฎีการตั้งเป้าหมาย
3.4.2 ความพึงพอใจในงาน
3.4.3 การจูงใจกับวิชาชีพพยาบาล
การใช้ทฤษฎีการจูงใจในการบริหารการพยาบาล
บทบาทผู้บริหารการพยาบาลในการจูงใจ
3.5 การสื่อสารภายในองค์กร
3.5.1 จุดมุ่งหมายของการสื่อสารในการบริหารพยาบาล
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน
เป็นเครื่องมือช่วยสร้างความสัมพันธ์
การมอบหมายหน้าที่ และความรับผิดชอบเป็นไปอย่างมีระบบ
เป็นเครื่องมือในการควบคุมการปฏิบัติงานตามขอบเขตและสายการบังคับบัญชาเพื่อให้เกิด
เอกภาพในการบริหาร
ช่วยให้เกิดการพัฒนาและการทํางานที่มีประสิทธิภาพ
3.5.2 ประเภทของการสื่อสารในองค์กร
ช่องทางการติดต่อสื่อสารที่เป็นทางการ
ช่องทางการติดต่อสื่อสารที่ไม่เป็นทางการ
เส้นทางของการติดต่อสื่อสารภายในองค์กร
การติดต่อสื่อสารจากบนลงล่าง
การติดต่อสื่อสารจากล่างขึ้นบน
การติดต่อสื่อสารในแนวนอนหรือการติดต่อสื่อสารในระดับเดียวกัน
การสื่อสารในแนวทแยง
การสื่อสารกับสังคมภายนอก
การติดต่อสื่อสารที่ไม่ใช้คําพูด
การจัดการความรู้
3.5.3 วิธีการสื่อสารในการบริหารพยาบาล
การสื่อสารโดยวิธีเขียน
การสื่อสารแบบใช้คําพูด
3.6 การเปลี่ยนแปลงและความขัดแย้ง
3.6.1 การเปลี่ยนแปลง
3.6.1.1 ความหมาย และคุณลักษณะของผู้นําการเปลี่ยนแปลง
3.6.1.2 การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
3.6.1.3 ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง
3.6.1.4 การบริหารการเปลี่ยนแปลง
3.6.2 ความขัดแย้ง
ความหมายของความขัดแย้ง
ประเภทของความขัดแย้ง
การบริหารความขัดแย้ง
นายณัฐนันท์ วาจาสัตย์ รหัสนักศึกษา 60440101039