Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ -…
บทที่ 3
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย
อาณาจักรสุโขทัย (พ.ศ. 1781-1981)
ระบบการปกครองและเสรีภาพ
ลักษณะการปกครอง-พ่อปกครองลูก
หลักการปกครองแบบครอบครัว กษัตริย์เปรียบสมือนพ่อ ของครอบครัวใหญ่ ซึ่งเรียกว่า พ่อขุน มีความใกล้ชิดกัน
อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 – 2310) 417 ปี
ปัจจัยที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ
ตั้งอยู่ใกล้เมืองท่าชายฝั่งทะเล ทำให้ทำการค้าได้สะดวก
มีแม่น้ำไหลผ่าน ทำให้เพราะปลูกข้าวได้ดี
3.การที่จักรวรรดิเขมรและอาณาจักรสุโขทัยตกต่ำลง
โครงสร้างเศรษฐกิจสังคม และการเมือง
โครงสร้างเศรษฐกิจ และสังคม เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจของอาณาจักรสุโขทัยเป็นเศรษฐกิจการเกษตร
โครงสร้างสังคม 1. ชนชั้นปกครอง-กษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ - ข้าราชการ พระภิกษุสงฆ์
2.ชนชั้นที่ถูกปกครอง- สามัญชนหรือไพร่ และทาส
การปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นลัทธิเทวสิทธิ์
มโนทัศน์ธรรมราชาจากสุโขทัย
ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราช บริพารเป็นสื่อกลางระหว่าง กษัตริย์และประชาชน
ระบบเจ้าขุนมูล นาย หหือ ศักดินา
การปฏิรูปการเมืองและการบริหารในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
การบริหารระดับชาติ
กรมเวียง ใช้ชื่อว่า นครบาล
กรมวัง ใช้ชื่อ ว่า ธรรมาธิกรณ
กรมคลัง ใช้ชื่อว่า โกษธิบดี
กรมนา ใช้ชื่อว่าเกษตราธิการ
การปฏิรูป องค์การทางสังคม
ระบบศักดินา มาตราวัดลำดับชั้น ทางสังคม แบ่งเป็น 2 ชนชั้น
1.ชนชั้นผู้ปกครอง
2.ชนชั้นผู้ถูกปกครอง
ระบบไพร่ เป็นส่วนหนึ่งของระบบศักดินาเป็นรากฐานให้กับระบบเศรษฐกิจไพร่สม ไพร่หลวง ไพรส่วย
อาณาจักรธนบุรี (2310 – 2325)
มีการสักไพร่-เพื่อจัดระเบีบชาติไทยขนึ้ ใหม่
พระเจ้าตากสินใช้โดยการช่วยเหลือ
สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตรฺย์ศึก
เจ้าพระยาสุรสีห์
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ปฐมกษัตริย์
“พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก”รัชกาลที่ 1
การปกครองและการบริหาร ฟื้นฟูสถาบันกษัตริย์ - การจัดองค์กรทางสังคม ระบบศกักดินาสักเลกไพร่ -ด้านศาสนา มีการสังคายนาพระไตรปิฎก-ด้านเศรษฐกิจ การค้ากับจีน
รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
เศรษฐกิจเงินตราและการค้าขยายตัว- ธรุ กิจการค้า-ของราชสานักขาดทุน
ราชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ยุบเลิกการค้าของหลวง และเก็บภาษี (38 ชนิด)-ีระบบราชการเป็นกลไกการเก็บภาษี (ระบบเจ้าภาษีนายอากร) ชาวจีน
ราชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
นโยบายเปิดประตู – สนธสิ ญัญาปี พ.ศ.2398 (สนธสิ ญั ญาเบาวริ่ง )พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย-การบริหารราชการส่วนหัวเมืองสมัยรัชกาลที่ 4 -หัวเมืองชั้นใน - หัวเมืองชั้นกลาง - แขวงตำบล หมู่บ้าน - ประเทศราช
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
พระชนมายุ 15 พรรษา การสร้างรัฐชาติแบบใหม่ ยกเลิกระบบกินเมือง ปกครอง มีการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน-กระทรวง - มีกองทัพแบบทันสมัย คือ การเกณฑ์ทหาร-การมีกระทรวงพระคลัง ระบบการเก็บภาษี-การปฏิรูปการศึกษา-การยกเลิกประเพณีต่างๆ-การปฎิรูปสังคม การยกเลิกทาศและเลิกระบบไพร่
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6
ได้ทรงพยายามที่จะทดลองการปกครองแแบบประชาธิปไตยดุสติ ธานี
มีเสรีภาพทางด้านความคิดเกิดกบฏ ร.ศ 130 -ประเทศสยามเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง-จัดตั้งมหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พระบาทสมเด็จปกเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่7)
พระราชทานรัฐธรรมนูญ-ปกครองจากระบอบสมบูรญาสิทธราชย์ไปเป็นประชาธิปไตย-ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามพุทธศักราช 2475
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล(รัชกาลที่8)ยุติความขัดแย้งระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื้อ สายจีนพระราชปรารภในการผลติ แพทย์เพิ่มขึ่นจัดตั้งโรงเรียนแพทย์แห่งที่ 2 น่ั นคือโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โดยในปัจจุบัน คือ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช(รัชกาลที่9) ปัจจุบัน คือ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ประชาชนสามารถมีชีวิตอยู่ได้อย่างพอดีและมีความสุข-พระชทานราชภัฏคนของพระราชา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิลาลงกรณ บดินทรเทพยวรากูร(รัชกาลที่10) สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนยากไร้สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช โดยทรงสนับสนุนและพระราชทานทุนการศึกษาให้กับผู้ที่มี ฐานะยากจนให้ได้รับโอกาศทางการศึกษารวมถึงโปรดเกล้าฯใหส้ ร้างโรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราชขนึ เพื่อรักษาผู้ป่วยในพื้นที่ห่างไกล