Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Tracheoesophageal fistula
(T-E fistula)
FB9190FD-0D17-4FEF-8881…
Tracheoesophageal fistula
(T-E fistula)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Risk of deficient fluid volume and nutrients (breast milk) r/t inability to
swallow food normally
(เสี่ยงต่อการขาดสารน้ำและสารอาหาร(น้ำนมแม่)เนื่องจากไม่สามารถกลืนอาหาร
ได้ตามปกติ )
กิจกรรมการพยาบาล
- ดูแลให้ได้รับน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำ และให้ยาทาง O-G tube
- ดูแลให้ได้รับน้ำและสารอาหารทางปากอย่างช้าๆ บ่อยๆ เมื่อรับอาหารทางปากได้ โดยจัดให้นอนศีรษะสูง 30 องศา และสังเกตอาการขย้อน ไอ สำลัก ถ้ามีต้องหยุดให้อาหารชั่วคราว
- หลังให้นม ให้นอนศีรษะสูง ตะแคงขวา
-
- สังเกตความตึงของผิวหนัง ริมฝีปาก กระหม่อมและการดูดกลืนนม
- Record I/O รวมทั้งลักษณะสี กลิ่น และจำนวนครั้งของการสำลัก
หรืออาเจียน
- ประเมินอาการและอาการเเสดง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Risk of complications r/t reflux of secretions and food from the stomach into the esophagus
( เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากการไหลย้อนของสารคัดหลั่งและอาหารจาก
กระเพาะอาหารเข้าสู่หลอดอาหาร )
กิจกรรมการพยาบาล
-
- จัดให้นอนศีรษะสูง ตะแคงหน้าป้องกันการสำลักน้ำลายและการไหลย้อนของน้ำย่อย
เข้าหลอดลม และเปลี่ยนท่าทุก 2 ขั่วโมง
- ดูแลทางเดินหายใจให้โล่งโดยดูดน้ำลายในปากและคอบ่อยๆ
- สังเกตและบันทึกอาการติดเชื้อ เช่น ลักษณะการหายใจ ถ้าหายใจลำบาก เขียว หรือหยุดหายใจ มีไข้ต้องรีบรายงานแพทย์ทันที
- กรณีติดเชื้อ ดูแลให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
- เตรียมอุปกรณ์การช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาการขาดออกซิเจน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Parental deficient knowledge r/t lack of disease and caring knowledge
( ผู้ปกครองพร่องความรู้เนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโรคในการดูแล )_
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินความรู้ความเข้าใจเรื่องความผิดปกติของทารกและแนะนำวิธีการผ่าตัดรักษา
- อธิบายหรือแก้ไขความผิดต่างๆ ของบิดามารดาหรือผู้ดูแล
- อธิบายวิธีการผ่าตัด ระยะเวลาที่ใช้ในการผ่าตัด และผลลัพธ์ที่ได้ภายหลังผ่าตัด
- ให้ดูรูปทารกที่เป็นเหมือนกันระยะก่อนและหลังผ่าตัดที่ประสำความสำเร็จ
- สอนบิดามารดาและผู้ดูแลเรื่องวิธีการป้อนนมอย่างถูกวิธี
- แนะนำวิธีการดูแลทารกระยะก่อนและหลังการผ่าตัดอย่างชัดเจนพร้อมทั้งส่งเสริมให้กำลังใจ
- แนะนำวิธีการผูกแขนสองข้างเพื่อป้องกันทารกเอามือจับแผล
- แนะนำให้พูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้กับญาติของทารกที่เป็นโรคนี้ ซึ่งประสบความสำเร็จ
ในการปรับตัวสามารถดูแลทารกได้หรือได้รับการผ่าตัดรักษาเป็นผลสำเร็จน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Impaired gas exchange r/t abnormal respiratory rate
( การแลกเปลี่ยนก๊าซบกพร่องเนื่องจากอัตราการหายใจผิดปกติ )
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ได้แก่ ลักษณะการหายใจเร็ว เสียงหายใจ
- จัดให้ทารกอยู่ในท่าศีรษะสูง หรือนอนคว่ำ เพื่อให้หายใจสะดวก
-
- สังเกตและบันทึกความผิดปกติของการหายใจ ติดตามค่าความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด
ถ้าผิดปกติต้องดูแลให้ได้รับการแก้ไข
- ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา และป้องกันภาวะแทรกซ้อน
จากการได้ออกซิเจนเกิน
- ควบคุมอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมและอุณหภูมิกายของทารก และดูแลให้ทารกได้พักผ่อน
ไม่รบกวนทารกโดยไม่จำเป็น การจับต้องทารกควรนุ่มนวล เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
-