Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 สถานการณ์ ปัญหาสาธารณสุขและแผนพัฒนาการสาธารณสุข, นางสาว ธนพรรณ…
บทที่ 3 สถานการณ์ ปัญหาสาธารณสุขและแผนพัฒนาการสาธารณสุข
สุขภาพ (Health)
องค์การอนามัยโลก(WHO,2004) หมายถึง สภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจรวมถึงการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 หมายถึงภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกายทางจิตทางปัญญาและทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุล
ชุมชน (Community)
กลุ่มคนที่มีวิถีชีวิตเกี่ยวพันกัน และมีการติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างเป็นปกติและต่อเนื่อง
การสาธารณสุข(WHO,2014)
มาตรการจัดระเบียบทั้งหมด (ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐหรือเอกชน) เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพคน
อนามัยชุมชน(WHO,2004)
เป็นการรวมวิทยาศาสตร์ ทักษะ และความเชื่อของบุคคล ที่จะคงไว้ในการดูแลสุขภาพของบุคคลให้ดีขึ้น
พยาบาลอนามัยชุมชน (Community Health Nursing)
พยาบาลสาธารณสุข (Public health Nursing: PHN)
เป็นผู้ที่ปฏิบัติการพยาบาลที่ทำงานร่วมกับกลุ่มคน ชุมชน เป็นหุ้นส่วนที่เท่าเทียมกัน มุ่งเน้นไปที่การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
พยาบาลอนามัยชุมชน(Community Health Nursing: CHN)
ผู้ที่ปฏิบัติการพยาบาล โดยใช้การสังเคราะห์ความรู้มาสู่การปฏิบัติการพยาบาลและการสาธารณสุขสู่การสร้างเสริมสุขภาพ
การดำเนินงานเพื่อดูแลสุขภาพประชาชน
ด้านบริการ
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
การฟื้นฟูสภาพ
การป้องกันโรค
การส่งเสริมสุขภาพ
ด้านการบริหารจัดการ
2) การดำเนินงาน
การดำเนินงาน
การควบคุมติดตามงาน
นิเทศงานเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
3) ประเมินผล
ผลลัพธ์ที่ได้เป็นไปตามประสิทธิภาพ
ประสิทธิผลตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้หรือไม่
1) การวางแผนงาน
จัดระบบการทำงานให้เหมาะสมสอดคล้องกับกำลังคน
งบประมาณ
ทรัพยากร
ด้านวิชาการ
1) หน้าที่พัฒนาองค์ความรู้ด้านวิชาการของตนเอง
2) หน้าที่การให้ความรู้วิชาการในการดูแลสุขภาพแก่ประชาชนในชุมชน
การดำเนินงานเพื่อสุขภาพประชาชน
3) การปรับระบบบริการขั้นพื้นฐานของรัฐ เพื่อรองรับการสาธารณสุขมูลฐาน (Re-oriented Basic Health Service)
4) การผสมผสานกับงานของกระทรวงอื่น (Intersectoral Collaboration)
2) การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม (Appropriate Technology)
1) การมีส่วนร่วมของชุมชน (People Participation or People Involvement)
องค์ประกอบขับเคลื่อนระบบสุขภาพภาคประชาชน
2) องค์ความรู้
ส่งเสริมให้คนในชุมชนมีศักยภาพด้านความรู้และทักษะด้านการดูแลสุขภาพตนเอง
3) ทุน
สนับสนุนทรัพยากรในชุมชน การบูรณาการการทำงานร่วมกัน ทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่เป็นตัวเงิน
1) คน
สร้างความร่วมมือ
ระบบสุขภาพภาคประชาชนกับสถานการณ์สุขภาพที่เปลี่ยนแปลง
Future Events (เหตุการณ์ในอนาคต)
โลกเชื่อมต่อการค้าการลงทุน
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
สังคมผู้สูงอายุ
ความก้าวหน้าTechnology
ความเป็นสังคมเมือง
แผน 20 ปี กสธ. 4 Excellence Strategies
2) Service Excellence (บริการเป็นเลิศ)
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ
การพัฒนางานตามพระราชดาริ
ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ/เขตเศรษฐกิจพิเศษและชายแดนใต้
3) People Excellence (บุคลากรเป็นเลิศ)
การผลิตและพัฒนากำลังคน
การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
1.การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและภาคประชาสังคมด้านสุขภาพ
1)Prevention& Promotion Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและความปูองกันโรคเป็นเลิศ)
2.การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
1.พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย
3.ความปลอดภัยด้านอาหารและลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
4.การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
4) Governance Excellence (บริหารจัดการเป็นเลิศ)
ระบบหลักประกันสุขภาพ
ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์และการคุ้มครองผู้บริโภค
ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
ระบบธรรมาภิบาล
นางสาว ธนพรรณ วรพรม เลขที่74 611001403519