Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 กลวิธี และนวัตกรรมสาธารณสุข, นางสาวธนพรรณ วรพรม เลขที่74…
บทที่ 2 กลวิธี และนวัตกรรมสาธารณสุข
ความหมาย แนวคิดของนวตกรรมสาธารณสุข
สิ่งที่ทำขึ้นใหม่หรือแปลกจากเดิม ซึ่งอาจจะเป็นความคิด วิธีการ หรือ อุปกรณ์ เช่น การใช้อินเทอร์เน็ตประกอบการสอน ถือเป็นนวัตกรรมทางการศึกษา (ราชบัณฑิตยสถาน, 2550)
นวัตกรรมแบ่งเป็น 3ประเภทใหญ่ๆ
2.นวัตกรรมกระบวนการ (Process innovation innovation)
การวางแผน
แผนยุทธศาสตร์
3.นวัตกรรมบริการ (Service innovation innovation)
การพัฒนาระบบการให้บริการให้ดีขึ้น
การสร้างเครือข่ายบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
นวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง
1.นวัตกรรมผลผลิต(Product innovation innovation)
ยา
สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ
วิวัฒนาการนวัตกรรมสาธารณสุขไทย
พ.ศ.2525-2529
กระทรวงสาธารณสุขได้ขยายการอบรม ผสส/อสม ให้ครอบคลุมหมู่บ้านในชนบททั้งหมด
พ.ศ. 2530-2534
พัฒนาระบบบริการสาธารณสุข มีกองทุนบัตรสุขภาพเพื่อเร่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
พ.ศ. 2525
ดำเนินโครงการหมู่บ้านพึ่งตนเองทางสาธารณสุขมูลฐานใน 12 หมู่บ้านใน 9 เขตทั่วประเทศ
พ.ศ.2535-2539
ดำเนินโครงการทศวรรษแห่งการพัฒนาสถานีอนามัย
พ.ศ. 2523
ประเทศไทยลงนามกฎบัตรเพื่อการพัฒนาสาธารณสุขสนับสนุนการสาธารณสุขมูลฐานให้เป็นกลวิธีที่จะบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้าในปี 2543
พ.ศ. 2536 -2537
ปรับเปลี่ยนโครงการบัตรสุขภาพ เป็น โครงการบัตรประกันสุขภาพโดยสมัครใจกระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ.2520-2525
เริ่มดำเนินการแผนงานสาธารณสุขมูลฐาน
พ.ศ.2540-2544
โดยกำหนดให้ปี 2543เป็นปีที่ต้องบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้าและปี2544เป็นปีแห่งการบรรลุคุณภาพชีวิตของประชาชนในชาติ
พ.ศ.2507-2509
ดำเนินโครงการสารภี
พ.ศ.2545-ปัจจุบัน
โครงการสุขภาพดีถ้วนหน้า
โครงการดูแลสุขภาพอนามัยประชาชนที่บ้าน
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โครงการเมืองน่าอยู่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
พ.ศ.2505
ดำเนินโครงการอาสาสมัครมาลาเลีย
แนวทางการพัฒนานวัตกรรมพยาบาลอนามัยชุมชน
กำหนดกลุ่มเป้าหมายของการพัฒนานวัตกรรมให้ชัดเจน
กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง
กลุ่มผู้สูงอายุ
คิดค้นแนวทางการพัฒนานวัตกรรมโดยอาศัยวิธีการต่างๆ
การจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การหาต้นทุนทางสังคม
การจัดกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
พัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านสุขภาพในการประสานงาน การสร้างเครือข่าย
แนวคิดนวัตกรรมสาธารณสุขไทย
นวัตกรรมที่ใช้ต้องสอดคล้อง และยืดหยุ่นกับนโยบายของแผน ยุทธศาสตร์สาธารณสุข
การสาธารณสุขของประเทศได้ดำเนินการพัฒนาอย่างต่อเนื่องโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม
พื้นที่ต่างกัน อาจต้องใช้นวัตกรรมที่ต่างกัน เพื่อความเหมาะสม
การสาธารณสุขมูลฐานเป็นกระบวนการพัฒนานวัตกรรม
3.นวัตกรรมแต่ละชิ้นมีจุดเด่นจุดด้อยต่างกัน
เน้นกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน ขาดการร่วมคิด ร่วมแก้ปัญหา และร่วมทำกันในช่วงแรก
2.คิดค้นนวัตกรรมต่าง ๆมากมาย
การดำเนินการมีการปรับตามแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา
1.ความตื่นตัวในการพัฒนาสาธารณสุขมูลฐาน
บทบาทในการพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาล
3.เพื่อลดค่าใช้จ่ายงบประมาณต่าง ๆในการบริหารจัดการ
2.เพื่อสร้างความรู้ใหม่ในการให้บริการพยาบาล
4.เพื่อประสานความร่วมมือกับหุ้นส่วนด้านสุขภาพในการให้บริการ
5.เพื่อเสริมสร้างพลังอานาจและสร้างคุณค่าของพยาบาลในการให้บริการ
1.เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการพยาบาล
ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพตามกฎบัตร Ottawa Charter
ด้านการสร้างความแข็งแรงของชุมชน
ด้านการส่งเสริมพัฒนาทักษะส่วนบุคคลแก่ประชาชน
ด้านการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ทั้งทางด้านกายภาพ ชีวภาพ และทางด้านสังคม
ด้านการปรับเปลี่ยนระบบบริการสาธารณสุข
ด้านนโยบายสาธารณสุขเพื่อสุขภาพ
บทบาทของพยาบาลกับนวัตกรรมสาธารณสุข แบ่งได้เป็น 3 ด้าน คือ
ด้านเป็นผู้ใช้นวัตกรรม
ด้านการประเมินผล
ด้านคิดค้นนวัตกรรม หรือวางแผนใช้นวัตกรรม
บทบาทของพยาบาลในสถานบริการสาธารณสุข มี 3 ระดับ
ระดับอำเภอ
ระดับจังหวัด
ระดับตำบล
พยาบาลควรที่จะสามารถปฏิบัติงานเพื่อสนับสนุนนวัตกรรมสาธารณสุข
การประเมินผล พยาบาลที่ปฏิบัติงานในแต่ละระดับ
งานด้านการจัดระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข
งานด้านการให้บริการพื้นฐาน
งานด้านการศึกษา ค้นคว้า และวิจัย
งานด้านการฝึกอบรม นิเทศ และติดตามให้การสนับสนุน
งานด้านการวางแผน
1.2 ร่วมวิเคราะห์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมในแต่ละพื้นที่
1.3 เป็นผู้ประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ
1.1 ร่วมในการจัดทาแผนพัฒนาชนบทระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด
นางสาวธนพรรณ วรพรม เลขที่74 611001403519